ราพูดถึงการเติบโตของ Plant-based หรือเนื้อสัตว์ที่ทำจากพืชกันมาตลอด 2-3 ปีผ่านมา และเรื่องนี้ทำให้คนในอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์กังวลว่ามันจะมาแย่งตลาดเบอร์เกอร์แบบดั้งเดิมหรือไม่
หากยังพอจำกันได้เมืองไทยมีกระแสขนมปังก้อนกลม “โรตีบอย” ที่ฮิตกันทั่วบ้านทั่วเมืองอยู่พักหนึ่ง เวลาจะล่วงเลยมานานนับสิบปี และตัวขนมปังต้นฉบับเองจะไม่ได้อยู่ในเมืองไทยแล้ว แต่หากเห็นขนมปังก้อนกลมลักษณะเดียวกันนี้ใครๆ ต่างก็ยังเรียกว่า โรตีบอย
หลังโควิดเศรษฐกิจและการค้าโลกจะเปลี่ยนไป ทั้งการใช้ระบบอัตโนมัติต่างๆ มาทดแทนแรงงานคน การย้ายฐานการผลิตกลับประเทศต้นทาง ตลอดจนการใช้นโยบายการเงินแบบรูปแบบใหม่ของธนาคารกลาง ฉะนั้นต้องปรับตัวให้ทันใน 3 เรื่องหลักต่อไปนี้
ลองมาทำความรู้จักกับตัวตนที่แท้จริง และแนวคิดการทำธุรกิจที่ไม่เหมือนใครจนประสบความสำเร็จขึ้นมา และคว้ารางวัลล่าสุด Icon Award Asia 2021 หรือรางวัลบุคคลต้นแบบ ปี 2564 ที่ประกาศผ่านทางเว็บไซต์ theworlds50best มาครอง
ทายาทรุ่นที่ 5 ธุรกิจเกลือสมุทร 120 ปี ลุกมาต่อยอดธุรกิจครอบครัว นำเกลือทะเลมาผลิตเป็นสินค้านวัตกรรม เริ่มต้นจากเงิน 2 แสนบาท ใช้คนแค่ 5 คน ปั้นธุรกิจใหม่ ทำรายได้หลัก 10 ล้านบาท ทั้งยังโตได้ถึง 400 เปอร์เซ็นต์ในยุคโควิด
ในโลกปัจจุบันที่การแข่งขันแย่งชิงความเป็นหนึ่งนั้นแสนจะดุเดือดและเลือดพล่าน โดยเฉพาะกับ 5 เชื้อไฟแห่งความกดดันที่เป็นเหมือนภัยคุกคาม (ไม่เงียบ) ของคนมีกิจการที่ต้องรู้ให้ได้ ดับให้ทัน! และสิ่งที่จะช่วยให้คุณเห็นควันมาแต่ไกลคือ การใช้ Five Forces Model
ย้อนกลับไปในวันที่ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิต Plant-based กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ทำงานด้านการออกแบบนวัตกรรม เกิดไอเดียที่จะทำร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในคอนเซปต์ Plant-based Thai Street Food ขึ้น โดยใช้เนื้อจากพืชมาปรุงเป็นอาหารรสแซ่บสไตล์สตรีทฟู้ดแบบไทยๆ
ใครจะคิดว่าขยะเหลือทิ้งและของเสียในกระบวนการผลิตมะม่วงเบาแช่อิ่ม อย่างเปลือกมะม่วงและน้ำเชื่อม จะกลายร่างสู่เครื่องดื่มไซเดอร์มะม่วงเบาไร้แอลกอฮอล์ขึ้นมาได้
เมื่อชีวิตในเมืองหลวงไม่ตอบโจทย์ “เสาวลักษณ์ มณีทอง” ลูกหลานเกษตรกรใน อ.แม่ระมาด จ.ตาก ตัดสินใจกลับไปบ้านเกิดทำธุรกิจแปรรูปสมุนไพร สร้างรายได้และความสุขสู่ชุมชน และยังส่งออกไปไกลถึง อเมริกา ศรีลังกา และออสเตรเลีย
“เดลิเวอรี่ปากช่อง-เขาใหญ่” แบรนด์ Local Delivery ที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ประกอบการคนไทยได้อย่างเข้าถึงมากขึ้น ด้วยการนำช่องว่างจากการให้บริการของแพลตฟอร์มเดลิเวอรีต่างๆ มาสร้างจุดแข็งให้กับตัวเอง
ในตลาดโลกเทรนด์ Plant-based Food กลุ่มอาหารที่ทำมาจากพืชที่ให้โปรตีนสูงถูกพูดถึงมาแล้วช่วงหนึ่ง ถามว่าแล้วประเทศไทยล่ะ เทรนด์ Plant-based Food มาหรือยัง แล้วเป็นโอกาสและความหวังจริงไหมในปี 2564
โควิด-19 ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกสิ่ง ทำให้หลายธุรกิจต้องเอาตัวรอด และใช้เวลาหดสั้นลงสำหรับเปลี่ยนแปลงตัวเอง บางรายเป็นสัปดาห์ บางรายแค่รายวันก็สามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ได้อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน