ธพว. ผนึก กรมสรรพากร และ IEC ปูพรมเติมความรู้คู่ทุน จัดสัมมนาออนไลน์ “รีบูตธุรกิจท่องเที่ยว สู้ภัยโควิด-19” ฟรี หนุนเอสเอ็มอีธุรกิจท่องเที่ยวทั่วไทย เข้าสู่มาตรการบัญชีเดียวควบคู่เข้าถึงสินเชื่อรายเล็ก Extra Cash ดอกเบี้ยพิเศษ ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน เพื่อเป็นทุนหมุนเวียน..
เจ๊ง้อเป็น SME สู้ชีวิต ที่เริ่มธุรกิจตอนอายุกว่า 60 ปี ถึงวันนี้วัยล่วงเลยมากว่า 80 ปีแล้ว แต่เจ๊ง้อก็เพิ่งเจอกับวิกฤตหนักสุดในชีวิตเมื่อตอนโควิด-19 มาเยือน และหลายอย่างที่ตัดสินใจทำลงไป เพิ่งมารู้ตัวว่า ‘ไม่น่าเลย’ ก็ในวันที่สายไปแล้วอย่างวันนี้
วิกฤตไวรัสโควิด-19 ทำให้หลายกิจต้องปรับตัว ไม่ว่าจะกิจการขนาดเล็กหรือใหญ่ เช่นเดียวกับ “รุ่งเรือง ซุปเปอร์มาร์เก็ต” ร้านค้าชุมชนเล็กๆ ย่านตลาดกิติพร อ้อมน้อย สมุทรสาคร ที่มีการปรับรูปแบบการให้บริการแก่ลูกค้าในช่วงไวรัสกำลังระบาดไม่ต่างจากธุรกิจขนาดใหญ่
ธุรกิจร้านกาแฟในเมืองไทยถือว่ามีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังมีรูปแบบกาแฟใหม่ๆ มานำเสนออยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นรสชาติ วัตถุดิบต่างๆ ที่นำมาประกอบให้เข้ากับกาแฟ การตกแต่งร้านเพื่อดึงดูดลูกค้า หรือแม้กระทั่งกระบวนการชงที่แตกต่างจากร้านกาแฟทั่วไป อย่างการ ‘ดริปกาแฟ’ (Drip Co..
“Virginia Satir” นักบำบัดโรคในครอบครัวชื่อดังของโลก เคยกล่าวไว้ว่า มนุษย์เราต้องการการกอดวันละ 4 ครั้ง เพื่อการดำรงชีวิต ต้องการการกอดวันละ 8 ครั้ง เพื่อการดำเนินชีวิต และต้องการการกอดวันละ 12 ครั้ง เพื่อการเจริญเติบโต
“Scooter Barber Shop” ร้านตัดผมอินดี้เล็กๆ ในตัวเมืองจังหวัดเลย คืออีกหนึ่งร้านที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 จากปกติมีลูกค้าวันละ 40 - 50 คน ต้องจำกัดเหลือเพียงแค่ 5 คน! ในวันที่ไวรัสตัวร้ายย่างกรายมาเยือนเช่นนี้ พวกเขาต้องปรับตัวอย่างไรไปหาคำตอบกัน
วันนี้คนหันมารักสุขภาพกันมากขึ้น ส่งผลให้มีร้านอาหารเพื่อสุขภาพเกิดขึ้นตามมามากมาย แต่ถามว่าจะมีสักกี่ร้านที่ประสบความสำเร็จในเชิงธุรกิจ เมื่อภาพจำที่คนมีต่ออาหารสุขภาพหรืออาหารวีแกน คือ อาหารที่ราคาแพง
สำหรับผู้ประกอบการท่องเที่ยวและโรงแรม COVID-19 ไม่ใช่เรื่องใหม่ และเป็นวิกฤตที่ซ้ำรอยเหตุการณ์ในอดีตมาแล้ว พวกเขาจึงพร้อมผลักให้เป็นโอกาส ด้วยการหาตลาดใหม่มาทดแทน
เอเชียแปซิฟิกมีจำนวนคนมั่งคั่งสูงถึง 18 เปอร์เซ็นต์ ของประชากรทั้งหมด หรือคิดเป็น 20.64 ล้านคน โดยคนรวยเอเชียมีรายได้เฉลี่ยร่วม 20 ล้านล้านบาทต่อเดือน ส่วนคนมีเงินชาวไทยอยู่ที่ 1 แสนล้านบาท ต่อเดือน
ทุกวันนี้เราอาจได้เห็นสินค้าผักปลอดสารพิษ นมออร์แกนิก ข้าวอินทรีย์ ฯลฯ เพิ่มมากขึ้น แต่กว่าจะมาเป็นแบบนี้ได้ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลย เหมือนเส้นทางธุรกิจของ “แดรี่ โฮม” นมออร์แกนิกเจ้าแรกของไทยที่ดำเนินธุรกิจมากว่า 20 ปี สู้อยู่เพียงคนเดียวลำพัง เพื่อให้ผู้คนได้บริโภคนมที่ดี และรู้ค..
โจทย์ใหญ่ของค้าปลีกวันนี้คือต้องปรับตัวเพื่ออยู่รอด โดยต้องรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาเพิ่มแต้มต่อ ใช้หมัดเด็ดอย่างการบริการและกิจกรรมดึงความสนใจลูกค้าให้เข้าร้าน แต่หากไม่ปรับเปลี่ยนให้ไว ในอนาคตอันใกล้ก็เตรียมตัวพ่ายให้รายใหญ่ที่ทั้งเก่งและวิ่งเร็วได้
การเปลี่ยนแปลงมักมาคู่กับวันเวลาที่ผ่านไปอย่างรวดเร็ว จึงไม่น่าแปลกใจที่องค์กรต่างๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ปัญหาคือ คนในองค์กรพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองในอัตราเร่งที่รวดเร็วทันกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กรหรือไม่