ภาวะเศรษฐกิจเช่นนี้ และวิกฤตที่รุมเร้าเข้ามา อาจทำให้ธุรกิจต้องสะดุด ขาดสภาพคล่องเลยอยากชวนมารีไฟแนนซ์สินเชื่อธุรกิจ อย่างน้อยเพื่อช่วยยืดระยะเวลาการใช้หนี้ออกไป ช่วยลดดอกเบี้ย ไปจนถึงอาจได้เงินอีกสักก้อนมาช่วยหมุนเวียนในธุรกิจ
โควิด-19 ทำให้หลายกิจการ ไม่สามารถผ่อนชำระหนี้ได้เป็นปกติ จนบางคนกลัวที่จะถูกฟ้องล้มละลาย คุณสามารถหยุดเรื่องดังกล่าวไว้ได้ ด้วยการ "ยื่นขอฟื้นฟูกิจการ "ทำยังไง ไปดูกัน
จากปัญหาการแพร่ระบาดของไวรัสโควิดทำให้ภาคธุรกิจโดยเฉพาะเอสเอ็มอีได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก เป็นเหตุให้ธนาคารแห่งประเทศไทยได้เปิดโครงการมาตราการพักชำระหนี้เป็นระยะเวลา 2 เดือน
เพื่อให้ธุรกิจอยู่รอด ผ่านพ้นช่วงที่เหลือของปี 2564 นี้ไปให้ได้ ผู้ประกอบการจำเป็นต้องสำรวจธุรกิจว่ามีความเสี่ยงแบบไหน จะเป็นเรื่องรายได้ ช่องทางการขาย ต้นทุน หรือภาระหนี้สิน เมื่อประเมินความเสี่ยงที่กำลังเผชิญอยู่ แล้วอุดจุดอ่อนเหล่านี้ให้ได้
การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบกับภาคธุรกิจอย่างรุนแรง บริษัท ห้างร้าน พ่อค้า แม่ค้า ไม่สามารถดำเนินธุรกิจได้ตามปกติ บางธุรกิจต้องปิดกิจการลงชั่วคราวจนรายได้หดหาย และขาดสภาพคล่อง จนต้องหันหน้าเข้าหาสถาบันการเงิน
ธนาคารกรุงเทพ ประกาศลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ทั้ง 3 ประเภท เอ็มแอลอาร์ เอ็มโออาร์ และเอ็มอาร์อาร์ ลง 0.40 เปอร์เซ็นต์ เพื่อช่วยเหลือลูกค้าผู้ประกอบการและประชาชนลดต้นทุนทางการเงินรับมือโรคโควิด 19 มีผลตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 63
ธพว. ห่วงใยลูกค้าธนาคารและผู้ประกอบการเอสเอ็มอีที่ได้รับผลกระทบจากพายุ “โพดุล” คลอด 2 มาตรการเร่งด่วนช่วยเหลือ พักชำระหนี้ 6 เดือน และเติมทุนดอกเบี้ยพิเศษ 0.415% ต่อเดือน ใช้หมุนเวียนฟื้นฟูธุรกิจ อำนวยความสะดวกยื่นกู้ผ่านแอปพลิเคชัน SME D Bank ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่
ธนชาตห่วงใยผู้ประสบภัยน้ำท่วมภาคอีสาน ออกมาตรการช่วยเหลือให้สามารถ “ตั้งหลัก” ฝ่าวิกฤต สามารถขอพักชำระหนี้ได้นานสูงสุดไม่เกิน 4 เดือน พร้อมช่วยเหลือทุกกลุ่มทั้งลูกค้ารายย่อยและเจ้าของธุรกิจ ครอบคลุมทั้งลูกค้ารถยนต์ บ้าน ธุรกิจส่วนตัว หรือ ผู้ที่ขาดสภาพคล่อง หวังบรรเทาความเดือดร..