ในวันนี้ “การส่งออก” คือพระเอกที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย แต่เรากลับมี SME ที่ส่งออกได้เพียง 1% เท่านั้น ฉะนั้นหากสามารถผลักดันธุรกิจเล็กส่งออกได้มากขึ้น เศรษฐกิจไทยก็ยิ่งแข็งแกร่ง EXIM BANK จึงดัน SME ให้ส่งออกได้มากขึ้น
ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา อุตสาหกรรมโปรตีนทางเลือกมีความก้าวหน้าอย่างก้าวกระโดด จนกลายเป็นกระแสหลักไปแล้ว ซึ่ง Green Queen ได้คาดการณ์แนวโน้มโปรตีนทางเลือก 13 อันดับที่น่าจับตามอง
สถานการณ์การระบาดของโควิด ทำให้ความเชื่อเรื่อง Multipotentialite หรือทักษะความสามารถที่หลากหลาย กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้ง บริษัทที่ปรับตัวได้ดีได้เร็วนั้นเกิดจากการสะสมความสามารถที่หลากหลาย และเมื่อเจอวิกฤตก็เปลี่ยนโมเดลธุรกิจได้ทัน
ย้อนกลับไปในวันที่ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิต Plant-based กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ทำงานด้านการออกแบบนวัตกรรม เกิดไอเดียที่จะทำร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในคอนเซปต์ Plant-based Thai Street Food ขึ้น โดยใช้เนื้อจากพืชมาปรุงเป็นอาหารรสแซ่บสไตล์สตรีทฟู้ดแบบไทยๆ
ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
ในตลาดโลกเทรนด์ Plant-based Food กลุ่มอาหารที่ทำมาจากพืชที่ให้โปรตีนสูงถูกพูดถึงมาแล้วช่วงหนึ่ง ถามว่าแล้วประเทศไทยล่ะ เทรนด์ Plant-based Food มาหรือยัง แล้วเป็นโอกาสและความหวังจริงไหมในปี 2564
เอปสัน ประเทศไทย บริษัทฯ ได้ขยายขอบเขตของงานซีเอสอาร์มาด้าน Life on Land จัดกิจกรรม Wheel for Wild เพื่อรณรงค์ให้คนไทยตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันรักษาทรัพยากรและใส่ใจในเรื่องการใช้พลังงานมากขึ้น
ในวันที่คำว่า Digital Transformation หรือการเปลี่ยนองค์กรเป็นดิจิทัลถูกใช้กันเกลื่อนเกร่อ แต่ดูเหมือนว่าน้อยรายนักที่จะทำแล้วประสบความสำเร็จ แล้ว SME จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมาทรานส์ฟอร์มองค์กรให้เป็นดิจิทัล
การมี Story จะช่วยให้เรามีภูมิต้านทานต่อคู่แข่งได้ ต่อให้ศัตรูจะมีผลิตภัณฑ์ที่เหนือกว่าเรา แต่เขาไม่สามารถเอาชนะ Story ของเราได้ และการสร้าง Story ในปัจจุบัน คงไม่มีสื่อใดเหมาะไปกว่า Facebook อีกแล้ว
“พริกค่ะ สไปซี่ คอฟฟี่” (PRIKKA Spicy Coffee) แจ้งเกิดในธุรกิจกาแฟสำเร็จรูปด้วยการเป็น กาแฟพริกสูตรแรกของโลก ที่ได้รับการประกาศขึ้นบัญชีนวัตกรรมไทยเป็นที่เรียบร้อย แถมยังคว้ารางวัลระดับโลกมาการันตีความสำเร็จอีกมากมาย
การทำตัวให้อยู่ในกระแส รู้ทันเทรนด์ เข้าถึงผู้บริโภครุ่นใหม่ๆ และใช้เทคโนโลยีให้คล่องแคล่ว อาจเป็นเรื่องยาก แต่ถ้ามี “แก๊งเสื้อยืด” หรือกลุ่มคนทำงานรุ่นใหม่อยู่ในองค์กรด้วยแล้วล่ะก็ จากจุดอ่อนจะกลายเป็น “แต้มต่อ” ของธุรกิจขึ้นมาได้
การทำท่องเที่ยวชุมชนในวันนี้แตกต่างไปจากยุคก่อน เพราะเราอยู่ในโลกที่มีเทคโนโลยี และเครื่องมือเครื่องไม้มากมายให้หยิบจับมาใช้ แม้ชุมชนจะทำเรื่องพวกนี้เองไม่ได้ แต่ก็มีผู้ประกอบการและผู้เชี่ยวชาญที่พร้อมจับมือกับแหล่งท่องเที่ยวชุมชน พลิกโฉมการท่องเที่ยวด้วยนวัตกรรม