HWC Coffee Roaster แบรนด์กาแฟ Specialty Coffee จากไต้หวันมองเห็นศักยภาพของตลาดเครื่องดื่มในไทย ปักหมุดขยายสาขาแฟรนไชส์มาประเทศไทยเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โอ้กะจู๋ พัฒนาธุรกิจอยู่เสมอ ด้วย Passion อุดมการณ์ที่ไม่แปรเปลี่ยนไปตามกระแส ทำในสิ่งที่ถนัดแบบค่อยเป็นค่อยไป คุณภาพคือหัวใจสำคัญ พร้อมยกระดับมาตรฐานความสะอาดที่ผู้บริโภคมองหา ตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายช้อน
ซื้อก่อน จ่ายทีหลัง (Buy Now, Pay Later : BNPL) กำลังเป็นเทรนด์การจับจ่ายซื้อของบนโลกออนไลน์ เพราะคนที่ไม่มีบัตรเครดิตก็สามารถซื้อหรือผ่อนชำระได้เหมือนกัน และแม้แต่คนที่ถือบัตรเครดิตอยู่แล้วก็กำลังหันมาชำระเงินด้วยวิธีนี้
ต่อให้หลายธุรกิจต้องขยับตัวมาทำการตลาดออนไลน์ที่ลูกค้าสามารถซื้อจากร้านค้าได้โดยตรง แต่สำหรับบางธุรกิจแล้ว “ตัวแทนจำหน่าย” คือพลังขับเคลื่อนธุรกิจ เป็นกำลังหลักในการช่วยขยายฐานลูกค้ามากขึ้นเรื่อยๆ
หนึ่งในสินค้าอะไรที่มาแรงในตลาดโลกขณะนี้คงหนีไม่พ้น “เนื้อสัตว์เพาะเลี้ยง” หรือ Cultured Meat จากความต้องการบริโภคเนื้อสัตว์ ความท้าทายในการผลิตเนื้อสัตว์ และปัญหาการขาดแคลนเนื้อสัตว์ในอนาคต เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์และนักธุรกิจทั่วโลกให้ความสนใจ
เพราะความผันผวนของราคาที่ยากต่อการควบคุมทำให้ชาวสวนยางพาราหาทางแก้ปัญหาที่นำไปสู่การนำเห็ดแครงวัตถุดิบท้องถิ่นมากประโยชน์ปักหลักลุยตลาด plant based เอาใจสาวกวีแกน
ไทยในฐานะผู้นำด้านอุตสาหกรรมอาหารของโลกยังมีโอกาสที่จะเพิ่มมูลค่าและผลักดันอุตสาหกรรมนี้ให้เติบโตขึ้นได้ NIA จึงได้วิเคราะห์โอกาสการเติบโตของการพัฒนาเทคโนโลยีเชิงลึกในธุรกิจอาหารใน 9 รูปแบบ
ในวันนี้ “การส่งออก” คือพระเอกที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย แต่เรากลับมี SME ที่ส่งออกได้เพียง 1% เท่านั้น ฉะนั้นหากสามารถผลักดันธุรกิจเล็กส่งออกได้มากขึ้น เศรษฐกิจไทยก็ยิ่งแข็งแกร่ง EXIM BANK จึงดัน SME ให้ส่งออกได้มากขึ้น
วิกฤตไวรัสโควิด-19 ได้เข้ามาสร้างปัญหามากมายให้กับธุรกิจ จากการสำรวจกลุ่มตัวอย่าง 1,574 สถานประกอบการ โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือ ดีพร้อม (DIProm) พบว่าปัญหาหลักที่ผู้ประกอบการ SME ต้องเจอนั้นมีอยู่ 8 ข้อด้วยกัน
“Tamagotchi” (ทามาก็อตจิ) ของเล่นสัตว์เลี้ยงเสมือนจริงไอเทมสุดฮอตของผู้บริโภคยุค 90s ที่จู่ๆ วันนี้กระแสทามาก็อตจิก็กลับมาอีกครั้ง แถมมาในรูปแบบที่แปลกตาออกไปด้วย
สสว. เตรียมให้ความช่วยเหลือ SME ผ่านระบบผู้ให้บริการสนับสนุนด้านการพัฒนาธุรกิจ (Business Development Service : BDS) หรือการจ่ายคนละครึ่งภาค SME เพื่อสร้างทางเลือกให้กับ SME ในการพัฒนาธุรกิจของตนเองให้ตรงตามความต้องการมากขึ้น