กลยุทธ์ “การสื่อสาร” ด้วย “Storytelling” ที่ธุรกิจโรงแรมนำมาใช้เพื่อสร้าง Engagement ให้กับกลุ่มเป้าหมายหลังโรงแรมกลับมาเปิดให้บริการอีกครั้ง นี่คืออีก 4 วิธีการเล่าเรื่องธุรกิจให้ดึงดูดใจนักท่องเที่ยว
การทำธุรกิจโรงแรมที่พัก ย่อมต้องได้รับข้อมูลส่วนบุคคลมากมาย ทั้งจากแขกผู้เข้าพัก รวมถึงพนักงานโรงแรมด้วย ซึ่งกฏหมายเองได้ออกพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562 ขึ้นมา สิ่งเหล่านี้เป็นอีกสิ่งจำเป็นที่ผู้ประกอบการต้องรู้ไว้
หลังโควิด -19 หลายอย่างถูกเปลี่ยนแปลงไปด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค ที่เริ่มมีความคุ้นชินกับการใช้ชีวิตที่เว้นระยะห่างทางสังคม และใส่ใจกับสุขอนามัยของตนเองมากขึ้น ธุรกิจโรงแรมอีกอุตสาหกรรมหลัก จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการถูกดิสรัปต์จาก New Normal ได้
หากพูดถึงชื่อ “Bata” (บาจา) เชื่อว่านักเรียนไทยแทบทุกคนคงรู้จักกันเป็นอย่างดีกับแบรนด์รองเท้าผ้าใบคุณภาพชื่อดังที่วางจำหน่ายอยู่ในเมืองไทยมานานกว่า 90 ปี จนพาลให้คิดไปว่า Bata คือ หนึ่งใน Local Brand ของไทย แต่จริงๆ แล้วมาจากสาธารณรัฐเชกต่างหาก
อีก 10 ปีข้างหน้า ธุรกิจกำลังจะเจอกับความท้าทายครั้งใหม่ และไม่เคยพบเจอมาก่อนในทศวรรษก่อนหน้านี้ เมื่อประเทศไทยจะมีพลเมืองผู้สูงวัยมากถึงกว่า 40 เปอร์เซ็นต์! ปรากฏการณ์นี้จะส่งผลอย่างไรกับ SME มาหาคำตอบกัน
หลงใหลในตัวเลข ชื่นชอบคณิตศาสตร์ สนใจด้านการตลาด และชอบคิดอะไรต่างจากคนอื่น คือสิ่งที่นำพาให้ “อริสา กุลปิยะวาจา” ผู้ก่อตั้งแบรนด์ 137 ดีกรี ตัดสินใจไปศึกษาต่อด้าน Data Analytics และได้นำวิธีคิดแบบ Data Scientist มาใช้ในการดำเนินธุรกิจวันนี้
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19
กลยุทธ์ที่โรงแรมต่างๆ งัดมาใช้ในช่วงนี้มากที่สุด ก็คือกลยุทธ์ด้านราคา ที่หลายๆ แบรนด์พาเหรดกันกระหน่ำให้ส่วนลดกันอย่างไม่เคยมีมาก่อน ในมุมแขกผู้เข้าพักอาจเป็นเรื่องดี แต่ทว่าในมุมของผู้ประกอบการโดยเฉพาะรายเล็กนี่คือโจทย์ใหญ่ที่ต้องรับมือ
แม้สินค้าจะผลิตออกมาดีเพียงใด แต่รู้ไหมว่าการวาง Brand Positioning หรือตำแหน่งแบรนด์ผิดที่นั้น สามารถสร้างความเสียหายให้กับแบรนด์ได้จนเกือบเจ๊งเลยทีเดียว เรื่องนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้วกับ “Ray-Ban” แบรนด์แว่นสุดคลาสสิกที่มีอายุกว่า 80 ปี
แม้ไม่มีวิกฤตโควิด-19 แต่ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรมในบ้านเรา นับว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก โดยพฤติกรรมของผู้คนแปรเปลี่ยน คนไม่จงรักภักดีในแบรนด์ เบื่อความซ้ำซาก ส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมอายุสั้นลงกว่าเดิมมาก
ในวันที่เกิดวิกฤตไวรัสโควิด-19 ความรู้และประสบการณ์ในอดีตกลายเป็นเรื่องเก่าที่เอามาใช้แก้สถานการณ์ไม่ได้ ท้าทายการทำธุรกิจของ SME ถึงเวลาพลิกตำราสู้เพื่อก้าวข้ามวิกฤตไวรัส ด้วยการคิดอย่าง..เสือ
กลุ่มผู้บริโภคในอาเซียนที่ใส่ใจประเด็นด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยพวกเขาพร้อมมีส่วนร่วมช่วยผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม ส่งผลต่อแนวคิดและพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการ