หลังการโควิด-19 จบ มีการคาดการณ์ว่าอาจทำให้พนักงานประจำทั่วโลกสมัครใจลาออกเพื่อไปเริ่มต้นทำสิ่งใหม่ๆ เป็นจำนวนมาก คล้ายกับคลื่นยักษ์สึนามิที่พัดมากวาดผู้คนออกไปจากระบบหรือที่เรียกว่า “Turnover Tsunami” จนอาจกลายเป็นปัญหาให้กับองค์กรต่างๆ
การแพร่ระบาดของไวรัสโควิดส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการและประชาชนจำนวนมากที่ต้องขาดรายได้จนนำไปสู่การผิดนัดชำระหนี้กับทางสถาบันการเงิน ไปลองดูกันว่าผู้ประกอบการจะมีหนทางแก้ไขอย่างไร
ประสบการณ์ของลูกค้ามีบทบาทสำคัญในการเติบโตของแบรนด์ นั่นคือเหตุผลที่แบรนด์ต้องทำความเข้าใจด้วยว่าคุณสามารถให้บริการแก่ลูกค้าของคุณได้ดีจริงหรือเปล่า ต่อไปนี้คือ 5 วิธีที่สามารถใช้ AI เพื่อวัดกันให้เห็นจะๆ ไปเลย
กลยุทธ์ต้องรอด ฉบับยักษ์ใหญ่แฟรนไชส์ธุรกิจอาหารอย่าง “เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป” ผู้ให้บริการด้านอาหารและฟาสต์ฟู้ดรายใหญ่ของประเทศ ในวิกฤตโควิด-19 พวกเขาใช้กลยุทธ์ไหนเพื่อไปต่อ
"OverBrew Specialty Coffee" ร้านกาแฟเล็กๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ที่ปรับตัวแก้วิกฤตด้วยการจำหน่าย "Cold Brew Bucket" หรือชุดทำกาแฟสกัดเย็นทำกินเองที่บ้านได้ง่ายๆ จากคิดหารายได้เพิ่ม กลายเป็นสร้างรายได้หลักนับแสนต่อเดือนให้ธุรกิจ
“Pangaia” ร่วมกับ “Graviky Labs” ห้องแล็บที่มีการวิจัยดักจับคาร์บอนหรือควันพิษในอากาศผลิตเป็นหมึกพิมพ์ลงบนวัสดุต่างๆ โดยมีชื่อว่า “Air Ink” จนได้เป็นสีสำหรับใช้ย้อมผ้าหรือสกรีนลงบนเนื้อผ้าขึ้นมาเป็นครั้งแรกของโลก
Fun Café Bangkok ต่อยอดไอเดียดัดแปลงห้องพักที่มีอยู่ซึ่งเดิมเปิดเป็นโฮสเทลมาก่อนให้เป็นที่นั่งแบบไพรเวท สร้างความมั่นใจและปลอดภัยในการเข้าใช้บริการแก่ลูกค้า จนทำให้สามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นมาให้กับธุรกิจได้ในยามวิกฤต
จากชีวิตสวยหรูของแอร์โฮสเตสสาวที่เดือนๆ หนึ่งได้เงินไม่ต่ำกว่าหลักแสนบาท ได้ใช้ชีวิตอยู่เมืองนอก ได้ท่องเที่ยวต่างประเทศ ใครเลยจะคิดว่าอยู่ดีๆ วันหนึ่ง "พจนันท์ เกตุประเสริฐ" จะตัดสินใจลาออกจากงาน เพื่อมาขายขนมไทยกล่องละไม่กี่สิบบาท
นี่คือเรื่องราวของช่อง YouTube ที่ชื่อ “สามอาชีพ เพื่อมนุษยชาติ” คลิปซื่อๆ ที่นำเสนอด้วยความเรียบง่ายและจริงใจ ตั้งคำถามแบบคนไม่รู้เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้แบบเคลียร์ๆ ให้คนที่อยากพึ่งพาตนเองด้วย “สามอาชีพ” คือ กสิกรรมไร้สารพิษ ปุ๋ยสะอาด และขยะวิทยา
“Supreme” แบรนด์สตรีทแวร์ชื่อดังจากนครนิวยอร์ค ที่ไม่น่าเชื่อว่าแม้จะมีแค่โลโก้กรอบสีแดงตัวหนังสือสีขาวอยู่ด้านใน แต่กลับสร้างมูลค่ากลับไปให้แบรนด์ได้มากกว่าหลายหมื่นล้านบาททีเดียว!
ในวันที่ประเทศไทย เพิ่มทางเลือกให้กับนักท่องเที่ยวกระเป๋าหนัก ที่อยากเข้ามาเที่ยวไทยในช่วงโควิด ด้วยโมเดล “การกักตัวบนเรือยอชต์” (Digital Yacht Quarantine) เพื่อปลดล็อกและฟื้นฟูการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวชื่อดังอย่าง จ.ภูเก็ต
แม้ว่าใน 1 - 2 ปีมานี้อาจไม่คึกคักเหมือนเก่าเพราะด้วยสถานการณ์จากโรคระบาดก็ตาม แต่อย่างไรเสียก็ยังคงมีสินค้าขายดีที่เป็นไอเทมฮอตฮิตตลอดกาลประจำฤดูร้อนและสงกรานต์ออกมาวางจำหน่ายตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค