เพราะโลกทุกวันนี้ คือ การสื่อสาร หลายธุรกิจจึงพยายามแข่งขันกันที่การสร้างคอนเทนต์ให้ดัง ให้ปังกว่า เพื่อหวังว่าให้แบรนด์เป็นที่รู้จักมากขึ้น เมื่อคนเห็นเยอะขึ้น ก็จะได้กลับมาซื้อสินค้าเราเยอะขึ้น แต่ความจริงแล้วเป็นแบบนั้นจริงไหม
เรื่องเงิน คือ เรื่องใหญ่ของธุรกิจ โดยเฉพาะในเวลาที่คับขันเช่นนี้ เราจะบริหารจัดการเงินยังไงให้ธุรกิจประคองอยู่รอดได้
ในยุคของแพงขึ้นทั้งกระดานในปี 2022 นี้ เราๆ เหล่านักธุรกิจ SME ก็ควรที่จะใช้เครื่องมือฟรีให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มที่กับธุรกิจของเรา
ในช่วงที่ผ่านมาเชื่อว่าในการทำธุรกิจของผู้ประกอบการไทยทุกคนต้องเจอกับเรื่องของกระแสเงินสดที่อาจไม่คล่องตัว ซึ่งการจะประคองธุรกิจให้อยู่รอดได้การรักษาสภาพคล่องหรือเงินทุนหมุนเวียนสำคัญที่สุด
สำหรับในการทำธุรกิจไม่ว่าจะทำธุรกิจขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่นั้นไม่สำคัญ แต่อยู่ที่เก่ง หรือไม่เก่ง ต้องมีแนวคิดที่ยั่งยืนและเมื่อเจอกับอุปสรรคก็สามารถที่จะปรับตัวและนำพาธุรกิจไปข้างหน้าได้อย่างรวดเร็ว
ถ้าคุณเคยอ่าน "ศิลปะแห่งสงคราม" ของซุนวู คุณก็จะรู้ดีว่านายพลจีนมีกลยุทธ์มากมายที่สามารถเอาชนะคู่ต่อสู้ได้ ซึ่งคำสอนของเขาไม่ได้มีไว้สำหรับนักรบเท่านั้น แต่ยังสามารถนำไปใช้กับธุรกิจได้อีกด้วย
ในสถานการณ์โควิด-19 ในที่ผ่านมาส่งผลกระทบต่อหลายๆ ธุรกิจ และอีกหลายๆ ชีวิตที่เป็นพนักงานตั้งแต่ระดับล่างไปจนถึงระดับบน บางคนโดนจ้างออกเพราะเงินเดือนสูง
จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กินเวลายาวนานมากว่า 2 ปีที่ผ่านมานี้ ซึ่งเข้ามาเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตของผู้คนมากมายให้ไม่เหมือนเก่า ต้องมีการเว้นระยะห่าง ต้องนั่งทำงานอยู่ที่บ้าน การติดต่อสื่อสารกันผ่านช่องทางออนไลน์เข้ามามีบทบาทมากขึ้น
ในยุคหนึ่งอาชีพราชการเคยเป็นที่ใฝ่ฝันของใครต่อใครหลายคน แต่มาถึงยุคนี้อย่าว่าแต่อาชีพราชการ หลายๆ อาชีพที่เคยเป็นคณะยอดนิยมในมหาวิทยาลัยก็ยังเปลี่ยนไป และนอกรั้วมหาวิทยาลัยก็มีอาชีพใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมายทุกวันนี้
เป็นเวลากว่าสองปีแล้วที่วันนี้เรายังคงใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับไวรัสโควิด-19 สถานการณ์ดังกล่าวจึงส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป เพื่อเอาตัวรอดให้ได้ธุรกิจก็ควรต้องปรับตามไปด้วย
หนึ่งในปัจจัยสี่พื้นฐานสำคัญของมนุษย์คือ “อาหาร” นี่อาจส่งผลต่อกระแสธุรกิจที่กำลังมาแรงและเป็นที่สนใจของคนรุ่นใหม่ในเวลานี้คือธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
ว่ากันว่าธุรกิจที่จะประสบความสำเร็จได้ต้องรู้จักพัฒนาตัวเองตลอดเวลา เหมือนกับ “นิธิฟู้ดส์” ผู้ผลิตเครื่องเทศและเครื่องปรุงรสชั้นนำที่ได้ทรานส์ฟอร์มธุรกิจไปสู่การเป็นผู้ผลิต “แพลนต์เบส”ภายใต้ชื่อ “Let’s plant meat”