หลายคนคงคุ้นเคยกับกิม อาหารขึ้นชื่อของเกาหลีที่ดังมาหลายปีในทั่วโลก แล้วปัจจุบันนี้ผู้บริโภคเกาหลีชอบทานอาหารประเภทไหนหลังจากวิกฤตโควิด-19 แล้วทำไมตลาดเกาหลีถึงน่าสนใจ
แม้ว่าสถานการณ์โควิด-19 ทำให้หลายธุรกิจต้องรับผลกระทบอย่างมหาศาล บางธุรกิจปิดกิจการไปก็มี แต่ก็มีธุรกิจได้โอกาสในการเติบโตจากสถานการณ์นี้ ซึ่งส่วนหนึ่งมากจากการเปลี่ยนแปลงจากดิจิทัล
“คนที่จะสำเร็จได้ต้องมีความทะเยอะทะยาน ต้องคิดให้ใหญ่ ทำให้ได้ และอย่ายอมแพ้” คาถาความสำเร็จของหญิงแกร่งจากทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช ดร.พรรณนิภา โอฬารธัมมะกิตติ์ (บี) นับเป็นอีกหนึ่งคนในวงการธุรกิจที่เริ่มต้นจากศูนย์แต่สามารถฝ่าฟันจนมีธุรกิจพันล้าน
รู้ไหมว่า ปัจจุบันไทยเป็นผู้ส่งออกสิ่งปรุงรสอาหารอันดับ 1 ในอาเซียน และเป็นอันดับ 4 ของโลก ซึ่งหนึ่งในนั้นมีน้ำปลารวมอยู่ด้วย
หนึ่งในวิธีที่จะทำให้ธุรกิจเติบโตคือการส่งออก แต่รู้ไหมว่าในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ประกอบการ SME ในระบบประมาณ 3.1 ล้านราย กลับเป็นผู้ส่งออกไม่ถึง 1% หรือประมาณ 3 หมื่นรายเท่านั้น
จะทำอย่างไรให้เอาชนะใจลูกค้าได้ เชื่อว่าทุกธุรกิจต้องเคยเจอปัญหานี้ แต่บางครั้งอาจจะคิดวิธีแก้ไขปัญหาไม่ออก ตัน หาทางออกไม่เจอ อย่าเพิ่งท้อไป วันนี้เราจะพาไปดูวิธีการทำตลาดให้ธุรกิจ win ด้วย Design Thinking Heart Head Hand
ต้องยอมรับว่าวิกฤต โควิด-19 ไม่เพียงแต่สร้างผลกระทบต่อสุขภาพ ยังสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจมูลค่ามหาศาล ภาคธุรกิจจำนวนมากจำเป็นต้องปิดกิจการ แต่ในขณะเดียวกัน โควิด-19 นั่นเอง ที่ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ ทั้งยังมอบ ‘บทเรียน’ แก่ภาคธุรกิจให้พร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้ธุรกิจสามารถขับเคลื่อนต่อไปได้คือ เทคโนโลยี นวัตกรรม
หลังจากสถานการณ์โควิดที่เกิดขึ้นจนถึงทุกวันนี้ ได้สร้างทั้งบาดแผลและบทเรียนมากมายทั้งในแง่การดำเนินชีวิต หรือแม้กระทั่งในการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย บริษัท สลิงชอท กรุ๊ป ได้สัมภาษณ์ CEO ในประเทศไทย จำนวน 50 ท่านถึงทิศทางการทำงานและการดำเนินธุรกิจในโลกอนาคตว่าจะเดินไปในทิศทางใด
จากการคิดต่อยอดจากธุรกิจของครอบครัวที่ดำเนินกิจการค้าข้าวและอุตสาหกรรมอาหารส่งออก ภายใต้ชื่อของ V-Group หรือ วุฒิชัยกรุ๊ป มานานกว่า 30 ปี บริษัท โอชาฟูดแพ็ค จำกัด คือ 1 จาก 9 บริษัทในเครือ ผู้ส่งออกใบตองและผักผลไม้แช่แข็งรายใหญ่ของประเทศ ที่ครั้งหนึ่งธุรกิจเกือบพัง เพราะขาดทุน
เรื่องราวธุรกิจเกือบ 100 ปีที่เริ่มต้นจากเงาะโรงเรียนต้นแรก จนกลายเป็นสินค้าแปรรูปที่มีกลุ่มลูกค้าเป็นชาวต่างชาติ 80-90%
ต้องยอมรับว่าผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทยในปัจจุบันสามารถพัฒนา “บรรจุภัณฑ์” หรือ “แพ็กเกจจิ้ง” ให้น่าสนใจได้ไม่แพ้แบรนด์ใหญ่ๆ ในตลาด
ใครจะรู้ว่าจากพ่อค้าขายไอศกรีมโมจิที่ตลาดนัดจตุจักร จนมีแฟรนไชส์ 300 กว่าสาขา วันนี้เขาคือเจ้าของไอศกรีมผลไม้ไทยที่ไม่ได้ขายแต่ตลาดนัดหากแต่ยังส่งออกตลาดกต่างประเทศที่สามารถครองตลาดเกาหลี 99%