หากเอ่ยถึงซีอีโอหรือผู้บริหารธุรกิจที่ได้รับการยอมรับว่ามีฝีมือ และมีความโดดเด่นมากที่สุดของโลก หนึ่งในนั้นต้องมีชื่อทิม คุก ซีอีโอแอปเปิลรวมอยู่ด้วยทุกครั้ง
ความผิดหวัง และล้มเหลวเป็นเรื่องปกติของการทำธุรกิจ ไม่ว่าใครก็ต้องเคยผ่านจุดนี้มาด้วยกันทั้งนั้น แม้แต่แบรนด์ดังระดับโลกที่ทุกวันนี้ธุรกิจเติบโตเป็นพันๆ เป็นหมื่นๆ ล้าน ก็เคยเจอวิกฤติเกือบล้มละลายมาแล้ว
ด้วยบริบทสังคมในปัจจุบัน อาทิ การระบาดโควิด-19 สงคราม ภาวะเศรษฐกิจที่ฝืดเคือง และภัยธรรมชาติต่างๆ ล้วนก่อให้เกิดความเครียด ส่งผลให้ผู้คนบางกลุ่มรู้สึกถวิลหาช่วงเวลาในอดีต จนนำสู่การเกิด ‘กิจกรรมย้อนวันวาน’ เพื่อจำลอ'ประสบการณ์ในอดีตขึ้นมาใหม่อีกครั้ง และสร้างพื้นที่จำลองในจิตใจที่รู้สึกปลอดภัย
นาทีนี้ชายหนุ่มที่ฮอตที่สุดคงต้องยกให้ จิรายุส ทรัพย์ศรีโสภา ผู้ก่อตั้ง Bitkub ธุรกิจที่สนใจเรื่อง Crypto รายแรกของไทย เริ่มต้นต่อสู้ธุรกิจเพียงลำพังจากคอมพิวเตอร์เก่าๆ หนึ่งเครื่อง
หลังการอุบัติของโควิด-19 ทำให้เกิดสิ่งใหม่ๆ มากมาย รวมทั้งพฤติกรรมของผู้บริโภคเองที่เปลี่ยนไปหลายอย่าง แน่นอนว่าย่อมส่งผลต่อการทำธุรกิจ ที่ต้องพร้อมปรับให้ทันผู้บริโภค
ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงนี้ธุรกิจต่างๆ ต่างตั้งคำถามว่าจะวางกลยุทธ์อย่างไร และนี่คือ 7 วิธีพัฒนาธุรกิจให้ตอบสนองต่อแนวโน้มในปัจจุบันให้ทันท่วงที ไม่ว่าเศรษฐกิจจะขึ้นหรือลงก็ตาม
ทุกแผนกของโรงแรมอาจต้องเจอกับ New Wave ของรูปแบบการทำงานรูปแบบใหม่พร้อมวางแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk Management) ในอนาคตมีอยู่ 2 แผนกที่น่าจะเจอความท้าทายมากเป็นพิเศษ นั่นก็คือ ฝ่ายการเงิน และ IT
รู้ไหมว่า SME ก็สามารถแจกหุ้นสามัญของบริษัทให้กับพนักงานทุกระดับชั้นตั้งแต่ระดับซีอีโอจนถึงพนักงานระดับล่างสุด เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจูงใจบุคลากรที่มีศักยภาพให้อยู่ร่วมงานกับกิจการ เหมือนกับที่บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ หรือ Startup เขาทำกัน
ไม่ว่าวิธีการขาย วิธีการทำการตลาดในยุคนี้จะเปลี่ยนไปจากยุคอนาล็อกอย่างไร แต่ “จิตวิทยา” มีส่วนสำคัญในการทำการตลาดอยู่เสมอ และนี่คือ 6 วิธีที่ธุรกิจหรือแบรนด์ต่างๆ สามารถใช้จิตวิทยามากระตุ้นยอดขาย
BPC Banking Technologies องค์กรที่เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเงินในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้ระบุถึงแนวโน้มของรูปแบบการชำระเงินที่ผู้ประกอบการควรเตรียมพร้อมรับมือให้ทันในปี 2021
ข้อมูล The 100 Best Global Brands จาก Interbrand ได้บอกกับเราว่าอะไรก็เกิดขึ้นได้ "แบรนด์ที่ใหญ่อยู่แล้ว ก็ใหญ่ขึ้นกว่าเดิมไปอีก’ หรือ ‘แบรนด์ที่ใหญ่ ก็ใช่ว่าจะเอาตัวรอดในช่วงวิกฤต’ แล้วสาเหตุใดที่ทำให้แบรนด์ใหญ่สามารถเติบโตได้ดีในสถาการณ์วิกฤตนี้ล่ะ
ลูกค้าไม่สามารถบอกออกมาได้ตรงๆ ว่าพวกเขาต้องการอะไร หรือแบรนด์ต้องทำแบบไหน แต่แบรนด์ต่างหากที่เป็นฝ่ายต้องปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีการเพื่อระบุปัญหาของพวกเขาให้ได้ และหาวิธีแก้ปัญหานั้นในแบบที่ลูกค้าไม่คาดคิด นั่นต่างหากถึงจะเป็น “นวัตกรรม”