ธุรกิจตู้กด มีการเติบโตอย่างก้าวกระโดด หันไปทางไหนก็เจอ หลายธุรกิจหันมาขยายสู่โมเดลธุรกิจแฟรนไชส์ แต่เปลี่ยนจากหน้าร้านใหญ่โต ย่อส่วนลงมาให้เหลือเพียงตู้กด แต่จะมีแฟรนไชส์ไหนที่น่าลงทุนบ้าง เราได้รวบรวมแฟรนไชส์ตู้กดเจ๋งๆ มาให้ดูกัน
เรื่องราวของ เฟิร์น - ศิลินลักษ์ ตุลยานันต์ CEO บริษัท ฟู้ด อีควิปเม้นท์ จำกัด ผู้นำเข้าและผลิตเครื่องจักรแปรรูปอาหาร ที่ครั้งหนึ่งเคยเกือบถูกไล่ออกจากบริษัทของตัวเอง จากความมุ่งมั่น และจริงจังในการทำงานที่มีมากเกินไปจนล้น เป็นยังไง ไปติดตามกัน
อุปสรรคสำคัญที่ทำให้ธุรกิจของเอสเอ็มอีต้องสะดุดหยุดชะงักหรือไปต่อได้ไม่สุด คือ เงินทุนที่มีอยู่จำกัดจำเขี่ย ต่อให้ขายดีเพียงใด ถ้าไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกันก็กู้เงินจากธนาคารไม่ได้
ในยุคที่เศรษฐกิจผันผวนและการแข่งขันที่รุนแรง ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ต่างต้องการ “เงินทุน” ในการขับเคลื่อนธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน แต่ “การเข้าถึงสินเชื่อในระบบ” ยังเป็นอุปสรรคสำคัญของผู้ประกอบการ ทางออกหนึ่งคือการหันไปหา “เงินกู้นอกระบบ”
ร้านกาแฟที่กลายเป็นโมเดลความสำเร็จของธุรกิจกลางเมืองเก่าสงขลา เน้นพัฒนาแบรนด์อย่างต่อเนื่อง จนสามารถเปลี่ยนผ่านถึงยุคที่สี่และเล่าเรื่องราวของสงขลาได้เข้มข้นขึ้นบนทำเลใหม่ในฝัน
ในโลกธุรกิจที่มีความเข้มข้น แข่งขันกันสูง การอยู่รอดไม่ได้ขึ้นอยู่แค่กับเงินทุนอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังต้องอาศัยอีกหลายๆ ปัจจัยโดยเฉพาะ “พลังของคน” ที่ถือเป็นหัวใจที่จะพาธุรกิจไปสู่ความสำเร็จ อย่างซีรีส์ญี่ปุ่น “Downtown Rocket” เราจะได้เห็นว่าคนเป็นส่วนสำคัญหนึ่งในบริษัท
ธุรกิจล้มเหลวเป็นเรื่องปกติในโลกธุรกิจ แต่ทำไมบางธุรกิจถึงสามารถฟื้นตัวและเติบโตได้หลังจากเผชิญกับวิกฤต ขณะที่บางธุรกิจกลับปิดตัวลงไป? คำตอบอาจซ่อนอยู่ที่ "Resilience Mindset" หรือ "จิตใจที่แข็งแกร่ง"
ชวนมาทำความรู้จักกับ “Co-CEOs” หรือ กลยุทธ์ซีอีโอร่วม จาก Netflix ที่มองว่าไม่ควรจำกัด หรือฝากความหวังอำนาจการบริหารไว้แค่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพราะถ้ามีผู้นำที่สุดยอดได้มากกว่าหนึ่งคน ผลลัพธ์ที่ได้ก็อาจเพิ่มทวีคูณขึ้นได้
ตอนนี้ไม่ว่าจะหันไปทางไหน ก็มักได้ยินแต่ข่าวเศรษฐกิจไม่ดี ขายของไม่ได้ ปิดกิจการอยู่เต็มไปหมด ล่าสุดแว่วมาว่าแม้แต่ตลาดจีน ที่เป็นอีกแหล่งส่งออกรายได้หลักของไทย จากจำนวนประชากรที่มีมากกว่า 1,400 ล้านคน ก็ย่ำแย่ไม่ต่างกัน
โดยส่วนใหญ่ในธุรกิจ B2B การสร้างแบรนด์ อาจดูไม่ค่อยมีความจำเป็นมากเท่ากับ B2C ที่ขายปลีกโดยตรงถึงผู้บริโภค ยิ่งเป็นสินค้าที่ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้เป็นส่วนประกอบในงานต่างๆ ตัวอย่างเช่น บันได แต่แล้วทำไม? บันได ต้องมีแบรนด์ ไปดูกัน
ถือว่าเป็นธุรกิจที่เป็นหน้าเป็นตาของประเทศไทยก็ว่าได้ทั้งธุรกิจอาหารและเกษตร เพราะต่างทำรายได้ให้ประเทศไทยไม่ใช่น้อย สำหรับธุรกิจอาหารแค่ 9 เดือนแรกปี 66 การส่งออกอาหารของไทยทำรายได้ถึง 1.16 ล้านล้านบาท
ทีเอ็มบีธนชาต หรือ ทีทีบี มุ่งมั่นร่วมผลักดันภาคธุรกิจเปลี่ยนผ่านสู่ธุรกิจสีเขียว จัดสัมมนาใหญ่ ttb I Business Green Transition Forum 2024 “ก้าวสู่ธุรกิจสีเขียว ขับเคลื่อนการเติบโตอย่างยั่งยืน”