พอจะส่งหนังสือหรือสินค้าชิ้นเล็กๆ ให้ปลอดภัยก็ต้องใช้ซองกันกระแทกที่มีบับเบิลพลาสติกบุอยู่ข้างใน ไม่รักษ์โลกเอาซะเลย เราอยากพาไปชมนวัตกรรมซองกันกระแทกแบบรีไซเคิลได้ 100 เปอร์เซ็นต์แบบที่ยักษ์ใหญ่อย่าง Amazon ใช้
ในยุคที่ร้านไหนๆ ก็มีส่งเดลิเวอรี แล้วอาวุธแบบไหนที่จะใช้เพิ่มแต้มต่อให้กับสนามแข่งขันนี้ได้ เราชวนมาหาคำตอบกับ Dezpax.com (เดซแพค) ผู้ให้บริการโซลูชันด้านบรรจุภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มครบวงจร หนึ่งในผู้อยู่เบื้องหลังอาหารเดลิเวอรีที่หลายคนคุ้นเคย
อยู่เมืองจีนแต่อยากสัมผัสความเป็นไทย อยากเที่ยวตลาดน้ำ อยากกินอาหารจากร้านดังในเมืองไทย อยากช้อป สินค้าแบรนด์ไทยแท้ที่ส่งตรงจากเมืองไทย ต้องไปที่ “The Flying Thai Food” หรือที่คนจีนรู้จักกันในชื่อ Thaifeteria Nitinagin (เฟยไท่ชาน)
ยุคนี้การพิมพ์ดิจิทัลและพิมพ์บรรจุภัณฑ์กำลังเติบโตจนเรียกได้ว่าเป็น Sunrise ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป มองว่าการพิมพ์ดิจิทัลในจำนวนน้อยจะมีความสำคัญมากขึ้นในอนาคต จึงเริ่มขยับขยายหาโอกาสให้กับธุรกิจ
มีเทรนด์แพ็กเกจจิ้งอะไรน่าสนใจบ้าง การเติบโตของแพ็กเกจจิ้งไทยจะไปในทิศทางไหน ไปฟังการวิเคราะห์ 8 เทรนด์บรรจุภัณฑ์ไทย ปี 2564 จาก “แชมป์ – สมชนะ กังวารจิตต์” นักออกแบบบรรจุภัณฑ์มือรางวัลเวทีโลก เจ้าของ Prompt Design
ไอเดียบรรจุภัณฑ์สินค้าชุมชน ผลงานของ SME นักออกแบบอิสระ และนักศึกษา หนึ่งในดาวเด่นจากการประกวดบรรจุภัณฑ์ไทย ประจำปี 2563 (ThaiStar Awards 2020) ทั้งแบบที่มีจำหน่ายจริงในท้องตลาด และเป็นต้นแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่
ไม่บ่อยนักที่ “เอกา โกลบอล” (EKA GLOBAL) ผู้นำตลาดนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ยืดอายุอาหาร (Longevity Packaging) รายใหญ่ของโลก เบอร์ 1 ในเอเชีย จะเปิดบ้านให้ผู้ประกอบการ SME เข้าไปเยี่ยมเยือน และยังเปิดห้องแล็บเอกา โกลบอล ให้ทดสอบยืดอายุสินค้ากันแบบฟรีๆ
หลังการมาถึงของวิกฤตโควิด-19 ทำให้ภาคธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบอย่างหนักหน่วง เมื่อลูกค้าต่างชาติหดหาย ลูกค้าคนไทยกลายเป็นเค้กก้อนเดียวที่เหลืออยู่ ผู้ประกอบการรายเล็กอย่าง SME จะรับมือสถานการณ์นี้ด้วยหมัดเด็ดแบบไหน?
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า มูลค่าตลาดแพ็กเกจจิ้งอาหารรักษ์โลกปี 2563 เติบโตเฉลี่ย 25 เปอร์เซ็นต์ คิดเป็นมูลค่า 2,100-2,400 ล้านบาท และใน 5 ปีข้างหน้าคาดว่าจะเติบโตไปแตะ 13,000-16,000 ล้านบาท มีส่วนแบ่งตลาดประมาณ 8-10 เปอร์เซ็นต์
ธนาคารไทยพาณิชย์ เดินหน้าสนับสนุนผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเร่งทรานส์ฟอร์มธุรกิจในการลดต้นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันในโลกธุรกิจยุค New Normal
ในยุคปัจจุบัน การสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นมานั้นไม่ได้คำนึงถึงเพียงแค่การใช้งาน ความสวยงาม ความโดดเด่นหรือความคิดสร้างสรรค์ในการดึงดูดลูกค้าเท่านั้น หากแต่ต้องมาพร้อมการรับรู้และร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมด้วย โดยเฉพาะปัญหาสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีแนวโน้มซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับวิถีชีวิต New Normal เป็นปัจจัยให้บริการขนส่งสินค้าแบบ Last-mile Delivery รวมถึงธุรกิจบรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่งถึงมือผู้บริโภคขยายตัวตามไปด้วย