นาราวิสาหกิจ ผูัเปลี่ยนต้นกระจูดให้กลายเป็น “หลอดดูดรักษ์โลก” สร้างงานสร้างรายได้สู่ชุมชน และร่วมลดการใช้หลอดพลาสติกที่เป็นพิษกับโลก จนก่อเกิดเป็นโอกาสธุรกิจใหม่ที่ไม่ได้มีแค่ประเทศไทย แต่เป้าหมายคือส่งออกไปทั่วโลก
เคยคิดไหมว่าแม้แต่สินค้าสายบุญอย่างผ้าดิบบริจาค ที่ใช้เพื่อห่อหุ้มร่างผู้เสียชีวิตก็สามารถสร้างแบรนด์ขึ้นมาได้เหมือนกัน เหมือนเช่นที่ “สุคติ” แบรนด์ผ้าดิบบริจาคของ อรรถพล ลีนะวัฒนา หนุ่มอาร์ตติสอารมณ์ดีกำลังทำอยู่ในขณะนี้
นับเป็นอีกหนึ่งข่าวเศร้าของวงการธุรกิจไทยกับการประกาศปิดกิจการของโรงงานน้ำตาลกุมภวาปีที่อยู่คู่เมืองอุดรธานีมานานกว่า 58 ปี เพื่อเป็นการร่วมส่งท้ายอีกหนึ่งตำนานน้ำตาลเมืองอุดรธานี วันนี้จึงขอนำเสนอเรื่องราวโรงงานน้ำตาลแห่งนี้ให้ได้รู้จักกัน
จากการทำธุรกิจไอศกรีมแบบ B2B ให้กับโรงแรมและร้านอาหารต่างๆ มานานกว่า 8 ปี แต่หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 กลายเป็นที่มาของโมเดลธุรกิจใหม่ สร้างอีกหนึ่งประสบการณ์ทางเลือกของการสั่งซื้อไอศกรีมมารับประทานที่บ้าน ภายใต้ชื่อแบรนด์ “Molto Premium Gelato”
สำหรับธุรกิจขนาดเล็กหรือขาดหลักทรัพย์ที่จะมาค้ำประกัน โอกาสที่จะได้รับเงินกู้จากธนาคารจะมีน้อยลง ทำให้เกิดเครื่องมือเสริมสภาพคล่องรูปแบบใหม่นั่นคือ Debt Crowdfunding ที่ ก.ล.ต. อนุญาตให้ SME ออกหุ้นกู้และสามารถเสนอขายให้กับบุคคลทั่วไปได้
ถ้าพูดถึงวิวัฒนาการน้ำดื่มบรรจุขวดของไทย ก่อนจะมาเป็นขวด PET ใสๆ อย่างที่เราเห็นกันทุกวันนี้ หลายคนคงพอรู้จักและเห็นหน้าค่าตากับน้ำขวดขุ่นราคา 5 บาท ซึ่งแน่นอนว่าแบรนด์แรกที่ถือกำเนิดขึ้นนั้นคงเป็นอย่างอื่นไปไม่ได้นอกจาก “Polaris”
รู้จักกับแบรนด์เล็กๆ ที่ชื่อ “JIB” ไม่ใช่ร้านขายคอมพิวเตอร์ชื่อดัง แต่คือคนขายกล้วยน้ำว้าที่มีตลาดหลักคือร้าน 7-11 และส่งผลผลิตกล้วยสูงถึง 6 พันลูกต่อวัน
“Lanar House” ร้านเค้กช็อกโกแลตหน้านิ่มที่เปิดขายมานาน 20 กว่าปี จนปัจจุบันสามารถผลิตช็อกโกแลตใช้เองได้ รวมถึงคิดค้นนวัตกรรมยืดอายุการเก็บรักษาออกไปได้นานกว่า 1 ปี
คนทำธุรกิจรุ่นก่อนอาจมีกำไรและยอดขายเป็นเป้าหมายสูงสุด แต่สำหรับคนรุ่นใหม่พวกเขามองหาความสุขและความหมายของชีวิตมากกว่า เหมือนกับ “วันนิวัติ ดวงพัตรา” เจ้าของ "GREENIQUE" ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมสมุนไพรเพื่อสุขภาพและผิวกาย จ.เพชรบูรณ์
"Whip Me" ร้านเครปเย็นจากนนทบุรีที่เพิ่งกลายเป็นกระแสไวรัลเล็กๆ ให้ผู้คนเข้ามารีทวิตกันมากกว่าห้าหมื่นครั้ง จากแคปชันกวนๆ ทำให้ลูกค้าแม้ไม่เคยมาที่หน้าร้าน ไม่เคยได้เห็นสินค้าจริง ก็สามารถตัดสินใจซื้อและเป็นลูกค้าได้ไม่ยาก
การทำธุรกิจจะประสบความสำเร็จได้อย่างสวยงามและอยู่ได้ยืนยาว ต้องอาศัยองค์ความรู้ที่ส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น เหมือนเช่นกับ “S’uvimol” แบรนด์กระเป๋าไทยพรีเมียมที่ต่อยอดธุรกิจจากฟาร์มจระเข้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ซึ่ง รับหน้าที่รับผิดชอบดูแลโดยสองแม่ลูกนักธุรกิจสวยและเก่ง
“Above the Ocean Strategy (AOS)” หรือ “กลยุทธ์เหนือน่านน้ำ” คือตัวช่วยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ ช่วยให้ธุรกิจเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นว่า หลังจาก COVID-19 พวกเขาต้องปรับเปลี่ยนตัวเองอย่างไร เพื่อก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน