ในโลกยุคใหม่ที่ทุกอย่างต้องถูกขับเคลื่อนด้วยความเร็ว การยึดหลักทำธุรกิจในรูปแบบเดิมเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพออีกต่อไป
เวทีงานแสดงสินค้าในต่างประเทศอาจเป็นอีกหนึ่งโอกาสของการทำตลาดที่กว้างขึ้นและโตขึ้น แต่ทว่าก็ต้องแลกมาด้วยค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นเช่นเดียวกัน
ปัจจุบันผู้ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SME ในประเทศไทย ขาดสภาพคล่องทางการเงินอย่างมาก ซึ่งสาเหตุสำคัญมาจากสถานการณ์โควิด – 19
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและ รมว.กลาโหม ได้มีนโยบายให้ความสำคัญกับการออกมาตรการเพื่อดูแลแรงงานและรักษาการจ้างงานในช่วงที่เศรษฐกิจได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
เค้กหอมมนต์ที่กำลังพุ่งทะยานสุดตัว ต้องสะดุดชั่วคราวเมื่อสถานการณ์โควิด มาเยือน และส่งผลต่อพฤติกรรมการจับจ่ายผู้บริโภค จากตลาดนัดมาเป็นโลกออนไลน์
กระทรวงแรงงานได้เปิดให้นายจ้าง/สถานประกอบการภาคเอกชนที่อยู่ในระบบประกันสังคม และมีลูกจ้างรวมทุกสาขาไม่เกิน 200 คน ให้มาลงทะเบียนเพื่อรับเงินเงินอุดหนุนจากรัฐบาลผ่านโครงการส่งเสริมและรักษาระดับการจ้างงานในธุรกิจ SME
ในการเติบโตทางธุรกิจนั้นมีรูปแบบที่น่าหลงใหลอยู่ นั่นก็คือ เติบโตแบบก้าวกระโดด (Exponential Growth) ด้วยกลยุทธ์ Scale Up การปรับปรุงและหรือขยายองค์กรด้วยวิธีและรูปแบบการทำงานให้สามารถมีประสิทธิผลมากว่าทรัพยากรที่ใช้ไป
คนทำธุรกิจทุกคนรู้ดีว่า ‘ข้อมูล’ ของลูกค้าเป็นเหมือนขุมทรัพย์ที่จะช่วยให้ชี้ทางสว่างให้กับธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงเวลาที่ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ยิ่งต้องทำความเข้าใจผู้บริโภคให้มากขึ้นและเร็วขึ้นเท่าตัว
SME ที่พลาดโครงการจับคู่กู้เงินของกระทรวงพาณิชย์ในเฟสแรกไปไม่ต้องเสียใจ เพราะเขาต่อเฟส 2 ให้ในทันที ด้วยวงเงินไม่ต่ำกว่า 6,000 ล้านบาท
หากย้อนไปดูปี 2563 ซึ่งเป็นปีแรกของการแพร่ะระบาด ตัวเลขผลประกอบการของ SME มีอัตราลดลงถึง -9.1 เปอร์เซ็นต์ คำถามก็คือ แล้วสถานการณ์ปีนี้ล่ะ จะเป็นอย่างไร? นี่คือความเสี่ยงที่ SME ต้องเผชิญอย่างต่อเนื่องหลังจากนี้ 3 เรื่องหลักๆ
เพราะอาชีพเกษตรกรมักสวนทางกับความร่ำรวย แต่คงไม่ใช่กับ ปู-สรรพศิรินทร์ ทรัพย์อนันต์ ที่ยังตัดสินใจยึดอาชีพนี้ในยุคดิจิทัล ทว่าการทำเกษตรของเธอต้องหลุดจากวงจรเดิมๆ และสามารถเลี้ยงตัวเองได้แบบยั่งยืน