รู้ไหมว่าในทุกๆ ปี ทั่วทั้งโลกกำลังสูญเสียพื้นที่ป่าไปมากขนาดไหน
คงไม่ใช่เรื่องง่ายนักที่แบรนด์น้องใหม่จะฝ่าด่านแบรนด์รุ่นพี่กลายเป็นม้ามืดมาแรงทำยอดขายแซงทุกแบรนด์จนขึ้นแท่น Best Seller ในเซเว่นเพียงแค่ภายในหนึ่งเดือนเท่านั้น
อากาศยิ่งแปรปรวนผู้คนก็ยิ่งตระหนักถึงต้นตอของปัญหา ทำให้หลายฝ่ายเริ่มหาวิธีที่จะหยุดภาวะโลกร้อน ซึ่งรวมไปถึงภาคธุรกิจ โดยเฉพาะผู้ส่งออกที่ควรทำความเข้าใจ เร่งปรับตัวเพิ่มประสิทธิภาพและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการผลิต เพื่อลดต้นทุนและรักษาตลาด โดยเฉพาะในสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ที่จะมีการบังคับใช้กฎหมายในการเก็บค่าธรรมเนียมคาร์บอนสำหรับการนำเข้าสินค้า
ในปัจจุบันเรามักจะเห็นอาหารพร้อมทาน (Ready-to-eat) หลากหลายแบรนด์วางไว้ในตู้แช่แข็ง ที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภคทำให้อาหารพร้อมทานในประเทศในปี 2563 มีมูลค่าประมาณ 4.4 หมื่นล้านบาท และก็ยังมีแนวโน้มโตต่อเนื่องได้อีก
เรียกว่ากลายเป็นเมนูทอล์คออฟเดอะทาวน์ไปแล้ว สำหรับ “ข้าวเหนียวมะม่วง”ที่ตอนนี้ไม่ว่าหน้าฟีดเฟซบุ๊ก หรือโซเชียลมีเดียไหนๆ ก็มีให้เห็นอยู่เต็มไปหมด ซึ่งไม่ใช่เฉพาะจากกระแสของ "มิลลิ" แร็ปเปอร์สาวไทยที่กินข้าวเหนียวมะม่วงโชว์บนเวทีคอนเสิร์ต Coachella 2022 เท่านั้น
สินค้ามือสองสำหรับเด็กหรือคุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์จะหายากกว่า จนกระทั่ง ”รีไทเคิล” (Retykle) แพลตฟอร์มซื้อขายเสื้อผ้าเด็กและชุดคลุมท้องกำเนิดขึ้น
เพราะร่างกายของคนเรานั้นมักแตกต่างกันไป บางคนผอม บางคนอ้วน ฯลฯ ความต้องการสารอาหารของแต่ละคนจึงไม่เท่ากัน ในเมื่อผู้บริโภคยุคใหม่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ทำให้การพัฒนาอาหารในรูปแบบ One size fits all อาจไม่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคได้ดั่งเก่า จึงเกิดแนวคิด Tailored to FIT นำไปสู่การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพที่เรียกว่า Personalized Food ที่คาดว่าจะสร้างแรงกระเพื่อมใหม่ในโลกอาหารเพื่อสุขภาพ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการอาหารที่จะขยายฐานกลุ่มลูกค้า
ในช่วงอาทิตย์ที่ผ่านมาได้มีกระแส “ที่สุดของการโฆษณา” เกิดขึ้น จากเพจของ คุณสรยุทธ สุทัศนะจินดา จึงขออนุญาตหยิบยกกรณีศึกษานี้มาพูดคุยกันเรื่อง Marketing 5.0
มีการคาดการณ์ว่าในปี 2024 ตลาดกาแฟในจีนจะมีมูลค่าเกิน 330,000 ล้านหยวน และจะเติบโตปีละราว 10 เปอร์เซนต์ตลอด 5 ปีข้างหน้า
แม้การเปิดประเทศต้อนรับนักท่องเที่ยวกับนโยบาย “อยู่ร่วมกับโควิด” (Living with Covid) จะทำให้คนทำธุรกิจกลับมามีความหวังจะฟื้นตัวสักที แต่ต้องยอมรับว่าอาจจะไม่ราบรื่นนักและยังมีความเสี่ยงอยู่อีกหลายอย่างในปี 2565
หลังการอุบัติของโควิด-19 ทำให้เกิดสิ่งใหม่ๆ มากมาย รวมทั้งพฤติกรรมของผู้บริโภคเองที่เปลี่ยนไปหลายอย่าง แน่นอนว่าย่อมส่งผลต่อการทำธุรกิจ ที่ต้องพร้อมปรับให้ทันผู้บริโภค
ครั้งหนึ่งความคิดที่จะออกไปหาอะไรกินคนเดียวตามร้านอาหารดูเหมือนเป็นสถานการณ์ที่น่าเห็นใจ และสร้างความประหลาดใจให้ผู้พบเห็นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าไปในร้านที่มีโต๊ะสำหรับนั่งกินสี่คนมากกว่านั่งกินตามลำพัง