โลกการทำธุรกิจจะเปลี่ยนหน้าตาไปจากเดิม หลังวิกฤตไวรัสโควิด-19 ผ่านพ้น สิ่งสำคัญไม่ใช่แค่การอยู่รอดให้ได้ในวิกฤต แต่ชีวิตหลังวิกฤตนั้นผู้ประกอบการจะต้องทำยังไง นี่คือโจทย์ที่ท้าทายยิ่งกว่า
แรงงาน หรือ พนักงาน คือ ส่วนสำคัญที่ทำให้ธุรกิจสามารถดำเนิน หรือเติบโตก้าวหน้าต่อไปได้ แต่ในยามที่ต้องประสบปัญหาภาวะวิกฤตเช่นนี้ บางครั้งก็อาจกลับกลายเป็นรายจ่ายที่หนักและสาหัส สำหรับธุรกิจที่เว้นช่วงไม่มีรายได้เข้ามา ในขณะที่รายจ่ายยังมีอยู่เช่นเดิม
Qualtrics และ SAP ทำการสำรวจพนักงาน 2,700 คนใน 10 อุตสาหกรรมทั่วโลก พบว่านับตั้งแต่มีการระบาดและการล็อกดาวน์เมืองในช่วงเดือนมี.ค-เม.ย 2563 ที่ผ่านมาผู้คนถึง 75 % รู้สึกโดดเดี่ยวทางสังคมมากขึ้น 67% เครียดมากขึ้น อีก 57 % รู้สึกวิตกกังวล และมีคนถึง 53 % ที่รู้สึกอ่อนล้าทางอารมณ์
เศรษฐกิจยุค Sheconomy สตรีผู้มีอำนาจซื้อ เป็นตลาดที่ SME จะมองข้ามไม่ได้ แต่การจะพัฒนาสินค้าและบริการมาตอบสนองตลาดผู้หญิงนั้นก็ไม่ง่ายเช่นกัน ต้องอาศัยความเข้าอกเข้าใจ และรู้ Pain Point ในแบบผู้หญิงๆ
Pay it forwrad เป็นโมเดลน่ารักๆ ที่อยากชวนคนมาส่งต่อความอิ่มและความสุข ต่างประเทศจะมีโมเดลแบบนี้ในร้านกาแฟที่ลูกค้าสามารถจ่ายเงินซื้อกาแฟล่วงหน้าให้คนยากไร้ได้ เช่น ร้านกาแฟ Cafe on the cop ในประเทศอังกฤษ
“Virginia Satir” นักบำบัดโรคในครอบครัวชื่อดังของโลก เคยกล่าวไว้ว่า มนุษย์เราต้องการการกอดวันละ 4 ครั้ง เพื่อการดำรงชีวิต ต้องการการกอดวันละ 8 ครั้ง เพื่อการดำเนินชีวิต และต้องการการกอดวันละ 12 ครั้ง เพื่อการเจริญเติบโต
TMB Analytics ชี้จะรักษาการจ้างงานได้ SME ต้องรอด โมเดล “รายใหญ่ช่วยรายเล็ก” ช่วยปลดล็อกสภาพคล่องธุรกิจไหลเข้าเร็วขึ้น 1.1 หมื่นล้านบาทต่อวัน
ธนาคารไทยพาณิชย์ เดินหน้าช่วยผู้ประกอบการท่องเที่ยว ฝ่าวิกฤตโควิด-19 จับมือ ททท. และ สทท. เปิดแพลตฟอร์มออนไลน์ www.SCBShopDeal.com รวมดีลเพื่อคนชอบเที่ยว ปลุกตลาดท่องเที่ยวไทยและ SME ให้สามารถปั๊มยอดขายได้ในช่วงวิกฤต
แค่ปรับตัวให้ไว ในวิกฤตก็สร้างโอกาสและความสำเร็จได้ เช่นเดียวกับแบรนด์ “ชีววิถี” ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพรที่อยู่ในตลาดมากว่า 14 ปี มีสินค้าจำหน่ายทั้งในไทยและต่างประเทศ ผู้พลิกวิกฤตโควิด-19 มาทำเจลแอลกอฮอล์สนองตลาดได้อย่างทันยุค
ความท้าทายของการทำธุรกิจในยุคไวรัสระบาด คือการประคองตัวให้รอดท่ามกลางภาวะวิกฤต ผู้บริโภคกักตัว ไม่ใช้จ่าย แต่ถ้าคุณเข้าใจพวกเขา รู้ว่าพวกเขาต้องการอะไรในช่วงวิกฤต คุณก็สามารถพลิกวิกฤตเป็นโอกาสในยามยากได้!
สิ่งสำคัญที่สุดในวันที่ธุรกิจต้องเผชิญกับภาวะวิกฤต คือ เงินสด โดยผู้ประกอบการทุกคนรู้ว่าตัวเองมีเงินอยู่ในมือเท่าไร แต่น้อยคนนักจะรู้ว่าเงินที่มีอยู่ในบัญชีนั้นจะทำให้ธุรกิจอยู่ได้นานแค่ไหน ถ้าหากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่มีรายได้เข้ามาเลย จนทำให้ตั้งรับกับเหตุการณ์วิกฤตไม่ทัน
มาตรการภาครัฐเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทั้งมาตรการ Lockdown และการรณรงค์ด้าน Social Distancing มีผลกระทบโดยตรงต่อภาคธุรกิจและการจ้างงาน ซึ่งกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ เป็นการจ้างงานในธุรกิจ SME ที่มีความเปราะบางกว่าธุรกิจขนาดใหญ่