"ซูชิ" อาหารญี่ปุ่นที่ครองใจคนไทยมาทุกยุค ตั้งแต่โอมากาเสะสุดหรู ร้านเชนในห้างฯ ไปจนถึงซูชิตลาดนัดราคาย่อมเยา เราเลยมีข้อมูลจาก Social Listening เกี่ยวกับความนิยมและพฤติกรรมการบริโภคซูชิในไทยมาฝากกัน
ปัจจุบันในบ้านเราก็มีแบรนด์ข้าวมันไก่มากมายขายอยู่ทั้งในซอยเล็ก ซอยใหญ่ ไปจนถึงห้างหรู เราเลยรวมแบรน์ข้าวมันไก่ติดแกลมมาให้
เร็วๆ นี้ สหรัฐฯ ได้อนุญาตให้ 2 บริษัทสามารถขายผลิตภัณฑ์ไก่ที่เพาะเลี้ยงในห้องแล็บได้แล้ว นับเป็นประเทศที่สองต่อจากสิงคโปร์ หรือ นี่คือ สัญญาณของธุรกิจเนื้อสัตว์เพาะเลี้ยง อาจมาทดแทนการทำธุรกิจฟาร์มสัตว์หรือไม่?
NRA องค์กรเก่าแก่ที่ก่อตั้งเมื่อ 103 ปี โดยในทุกปีจะมีการจัดงานแสดงสินค้าเกี่ยวกับร้านอาหารและอุตสาหกรรมการบริการ เพื่ออัพเดตเทรนด์โลก โดยล่าสุดเพิ่งจัดไปเมื่อเดือนพฤษภาคม มีเทรนด์อะไรน่าสนใจบ้าง มาดูกัน
ซีพีเอฟ เปิดตัวแบรนด์ “CP Magic Chef” ภายใต้แนวคิด “อร่อยเสกได้” เจาะกลุ่มผู้ที่ใจรักในการทำอาหารแต่มีเวลาจำกัด ประเดิมด้วย “CP โบโลน่าหั่นเต๋า” ต่อยอดจาก CP โบโลน่า พัฒนารสชาติและปรับรูปแบบให้เหมาะสมกับการประกอบอาหาร เพิ่มความอร่อย สะดวกรวดเร็ว
ยิ่งนานวันอาหารที่ทำจากพืช หรือ Plant-based food ได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ อาจเป็นด้วยเทรนด์การใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภค รวมไปถึงการห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงการไม่เบียดเบียนสัตว์
ข่าวเศร้าสำหรับสาวกรูทเบียร์ หรือ "น้ำยาหม่อง" ที่ผู้บริหารเพิ่งออกมาประกาศจะเลิกกิจการร้าน A & W ในเมืองไทย เพื่อเป็นการส่งท้ายลองไปฟัง 10 เรื่องราวน่าทึ่งของแบรนด์พร้อมกัน
ปรากฏการณ์เนื้อหมูแพงที่กำลังเป็นปัญหาเนื่องจากมีการฆ่าสุกรตัวเมีย และสุกรในฟาร์มเพื่อป้องกันการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรหรือ เอเอสเอฟ ปัญหาคล้ายกันนี้ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดนามก็เคยเผชิญเมื่อปีที่แล้ว แต่เวียดนามหาทางออกด้วยการนำเข้าเนื้อหมูจากประเทศไทย
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (COVID–19) ที่พ่นพิษไปทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในวงกว้าง ข้อมูลข่าวสารมากมายได้สร้างความตื่นตระหนก วิตกกังวล และความเครียด จนส่งผลเสียต่อทั้งสุขภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประกอบการและเหล่าผู้นำองค์กร
เมื่อดังกิ้นโดนัท คิดจะรุกตลาดกาแฟแบบจริงจัง เดินหน้ารีแบรนด์ภาพลักษณ์ครั้งใหญ่ ตัดคำว่า “โดนัท” ออก เหลือเพียง “ดังกิ้น” เพื่อลบภาพจำแบรนด์อาหาร
การซื้อแบรนด์แฟรนไชส์มาทำธุรกิจต่อนั้น ถือเป็นจุดหนึ่งที่ช่วยเพิ่มความมั่นใจได้ ซึ่งก็มีให้เลือกให้ทั้งแบรนด์ไทยและแบรนด์ต่างประเทศ หลายคนบอกว่าซื้อแบรนด์ไทยน่าจะง่ายดี แต่รู้ไหมว่าแบรนด์แฟรนไชส์จากต่างประเทศเองก็มีข้อดีและสร้างโอกาสให้กับผู้ลงทุนได้เช่นกัน
เป็นหนึ่งในหลายๆ ธุรกิจที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง สำหรับธุรกิจร้านอาหารจานด่วนหรือ Fast Food มาดูกันสิว่ามีแบรนด์ไหนบ้างที่เป็น Top 4 ที่กวาดเงินไปกว่าพันล้านในปี 2017 ที่ผ่านมา