ทายาทธุรกิจเครื่องกรองน้ำที่เคยโด่งดังในอดีต ทว่าด้วยพิษวิกฤตเศรษฐกิจปี 40 ทุกอย่างกลับพังครืนลง สาขาถูกปิด ธุรกิจกลายเป็นหนี้ ต้องตัดสินใจพลิกมาทำผ้าม่าน แต่ถูกเสนอเงินเดือนให้แค่ 5 พันบาท เขากัดฟันสู้จนได้ธุรกิจร้อยล้านในวันนี้
เมื่อ Eco Shop ของ นุ่น –ศิรพันธ์ และ ท็อป – พิพัฒน์ ได้พี่เลี้ยงเป็นถึงกรูรูธุรกิจมืออาชีพอย่าง Divana จนเกิดเป็นโปรเจกต์ร่วมกันขึ้นมาภายใต้ชื่อแบรนด์ “Divana Urban Forest” ผลิตภัณฑ์ของใช้ภายในบ้านที่ใส่ใจทั้งผู้บริโภค ผู้ผลิต และสิ่งแวดล้อม
นี่คือ “ขนมสุนัข” แต่ไม่ใช่ขนมธรรมดาๆ เพราะทำมาจากโปรตีนแมลง แถมยังช่วยแก้ปัญหา Food Waste ดีต่อสุขภาพน้องหมาและดีต่อสุขภาพของโลกเราด้วย
ในพื้นที่ของอำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย เมืองการค้าเก่าที่ครั้งหนึ่งเคยรุ่งเรืองจากการเป็นท่าสำคัญ ซึ่งไม่ได้มีแหล่งท่องเที่ยวโดดเด่นอะไรเลย แต่วันนี้กลับมีร้านกาแฟเล็กๆ แห่งหนึ่งซ่อนตัวอยู่ชื่อว่า “Mitrijit” ร้านกาแฟรูปแบบสโลว์บาร์ที่ทำช้า และชอบปิดบ่อย
สถานการณ์การระบาดของโควิด ทำให้ความเชื่อเรื่อง Multipotentialite หรือทักษะความสามารถที่หลากหลาย กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้ง บริษัทที่ปรับตัวได้ดีได้เร็วนั้นเกิดจากการสะสมความสามารถที่หลากหลาย และเมื่อเจอวิกฤตก็เปลี่ยนโมเดลธุรกิจได้ทัน
ผู้หญิงคนหนึ่งเดินหิ้วโครงไม้ลามิเนตไปบุกบริษัทอสังหาริมทรัพย์ชื่อดังอย่าง “แสนสิริ” เพื่อนำเสนอขายสินค้า โดยที่บริษัทพึ่งตั้ง ประสบการณ์ทำงานเท่ากับศูนย์ และมีสินค้าทั้งบริษัทแค่ 1 ตัวเท่านั้นก็คือ “พื้นไม้ลามิเนต” แต่เธอขายงานได้!
พฤติกรรมหลายอย่างของผู้บริโภค แปรเปลี่ยนไปเพราะโควิด หนึ่งในความเปลี่ยนแปลงที่ว่าคือ “Customer Journey” ที่ส่งผลต่อ “ซูเปอร์มาร์เก็ต” แหล่งช้อปสินค้าซึ่งเคยเป็นหมุดหมายของผู้คน ในยุคที่ยังไม่มีวิกฤตไวรัส
เมื่อนักบินและนักวิจัยมารวมตัวก่อร่างสร้างธุรกิจที่ชื่อ “Hide & Seek” (ไฮด์แอนด์ซีค) ทรายแมวธรรมชาติจากมันสำปะหลัง นวัตกรรมสิทธิบัตรของคนไทย เจ้าแรกของโลก!
ในชีวิตคนเราจะเจอวิกฤตได้สักกี่ครั้งกว่าจะประสบความสำเร็จ สำหรับ “นิภาภัทร์ ใจโสด” เจ้าของแบรนด์ “Anatani” อาจเรียกว่าไม่อยากนับกันเลยทีเดียว แต่อะไรทำให้ผู้หญิงคนนี้สามารถก้าวข้ามปัญหา จนกลายมาเป็นแบรนด์นมถั่วแระญี่ปุ่นเจ้าแรกของไทยได้
“Bean to Bar Chocolate” (บีนทูบาร์ช็อคโคแลต)” แบรนด์ช็อกโกแลตเมืองจันท์ ที่ทั้งปลูกและผลิตใน จ.จันทบุรี แถมยังฉีกตัวเองออกจากตลาดด้วยการเป็นช็อกโกแลตคีโตเจ้าแรกในไทย
“อารีฟู้ดส์” SME ที่ทำอาหารแช่แข็งส่งให้กับครัวร้อนในซูเปอร์มาร์เก็ตหลายแห่ง มีรายได้ต่อปีที่ประมาณ 150 ล้านบาท เมื่อต้องเจอกับโควิด-19 จึงปรับสายพานการผลิตมาสู่สินค้าประเภท Ready to Eat ที่รองรับกับพฤติกรรมของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้บริโภค
มีสัญญาณให้เห็นชัดเจนว่าในช่วงโควิดที่ผ่านมา กลุ่มสินค้าที่เป็นอาหารเกี่ยวกับสุขภาพได้รับความสนใจมากขึ้น นอกจากนี้กลุ่มสินค้าที่มาแรง และเป็นอนาคตของผู้ส่งออกอาหารไทย ก็คือแพลนต์เบส (Plant-based Food) อาหารจากพืช ซึ่งกำลังเติบโตอย่างมากในตลาดโลก