กลายเป็นข่าวที่สร้างความฮือฮาและเป็นเทรนด์แฮชแท็ก #หลี่หนิงขายกาแฟ #หลี่หนิงจับธุรกิจกาแฟในจีน เมื่อสำนักงานทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติของจีนเปิดเผย บริษัทหลี่ หนิง สปอร์ต (เซี่ยงไฮ้) ผู้ผลิตรองเท้าและเสื้อผ้ากีฬาแบรนด์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของจีนได้ยื่นจดทะเบียนเครื่องหมายทางการค้า “Ning Coffee”
เชื่อสิของทุกอย่างบนโลกย่อมมีประโยชน์ แม้แต่ของเสียอย่าง"อุจจาระ" ยังสามารถนำมาดัดแปลงทำสิ่งของและธุรกิจได้ตั้งหลายอย่างเลย
ป็นเรื่องที่น่ายินดี ที่เห็นผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทยประสบความสำเร็จในเวทีระดับโลกได้อย่าง “Kan Vela Craft Chocolate” แบรนด์ช็อกโกแลตไทยแบรนด์แรกที่ไปคว้ารางวัลจากต่างประเทศมาถึง 11 รางวัลเลยทีเดียว
ยิ่งนานวันอาหารที่ทำจากพืช หรือ Plant-based food ได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ อาจเป็นด้วยเทรนด์การใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภค รวมไปถึงการห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงการไม่เบียดเบียนสัตว์
“ฉิบหายไม่ว่าเอาหน้าไว้ก่อน” ประโยคแรงที่เพื่อนสนิทมักใช้แซว ทิวาพร เสกตระกูล หรือครูเอ๋ เจ้าของแบรนด์ เทวาภิรมย์ น้ำปรุงไทยตำรับชาววัง
หลังถูกหลายแบรนด์ดังประกาศคว่ำบาตร งดเปิดให้บริการในรัสเซีย ไม่นานนักก็มีแบรนด์ท้องถิ่นเกิดใหม่ผุดขึ้นมาล้อเลียนแบรนด์ดังมากมาย เช่น Starducks ที่ล้อเลียนมาจากสตาร์บัค
ต้องยอมรับว่าธุรกิจกาแฟเป็นหนึ่งในธุรกิจที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในจีน ดังจะเห็นว่านอกจากแบรนด์กาแฟข้ามชาติรายใหญ่ที่ครองส่วนแบ่งตลาด ยังมีแบรนด์เล็ก แบรนด์ท้องถิ่นผุดขึ้นมากมาย แต่จะมีแบรนด์ใดน่าทึ่งเกินกว่า “Manner” คงไม่มีแมนเนอร์ซึ่งได้รับฉายา “ม้ามืดแห่งวงการกาแฟจีน”
มีการคาดการณ์ว่าในปี 2024 ตลาดกาแฟในจีนจะมีมูลค่าเกิน 330,000 ล้านหยวน และจะเติบโตปีละราว 10 เปอร์เซนต์ตลอด 5 ปีข้างหน้า
เพราะหนึ่งในนิยามการทำธุรกิจ คือ การแสวงหาโอกาสให้กับตัวเอง โดยเฉพาะการกระโดดออกไปในพื้นที่ใหม่ๆ เพื่อสร้างความแตกต่างและแปลกใหม่อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
หลายๆ ธุรกิจหรือหลายองค์กร ในช่วงที่มีงานของบริษัท งานสัมมนา งานีเว้นท์ หรืองานตามเทศกาลต่างๆ องค์กรของคุณก็เตรียมของขวัญแจกลูกค้าหรือแจกแขกที่เข้ามาร่วมงานต่างๆ
เมื่อผู้คนเริ่มเรียนรู้ที่จะทดลองใช้ชีวิตวิถีใหม่ทั้งรูปแบบที่มีข้อจำกัดและไร้ซึ่งข้อจำกัด ได้มีเวลาอยู่กับบ้านมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ คือ การทดสอบมนุษย์ให้ลองออกจากกรอบเดิมๆ ที่เคยทำ จึงไม่แปลกที่วันนี้หลายคนจะลุกขึ้นมาเลือกทางเดินชีวิตตัวเอง
ย้อนกลับไปเกือบ 10 ปีก่อน “calligrapher” หรือ “นักออกแบบตัวอักษรผ่านลายมือ” เป็นอาชีพที่ยังไม่เป็นที่รู้จักในสิงคโปร์ แต่ปัจจุบัน ธุรกิจเกี่ยวกับ calligrapher เริ่มมีให้เห็นประปราย