เมื่อวิกฤตเกิดขึ้นไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก “ธุรกิจที่อยู่รอด คือ ธุรกิจที่ปรับตัวได้” เพราะธุรกิจที่ปรับตัวไม่ได้ก็จะต้องสูญพันธ์ถูก Disrupt หายไป วันนี้ลองมาเช็คลิสต์กันว่าธุรกิจคุณควรไปต่อ หรือรีบเปลี่ยน
แนวทางการทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จของแต่ละคน แต่ละองค์กรอาจมีที่มาต่างกันไป บ้างก็ใช้แพสชั่น บ้างก็ต่อยอดธุรกิจจากที่บ้าน แต่น้อยคนนักที่จะใช้คำว่า WHY เป็นแรงขับเคลื่อนธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ เปลี่ยนบริษัทเล็กๆ ให้ก้าวสู่คำว่า “มหาชน” ภายในเวลา 7 ปี
LeadershipACT เป็นหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นำ สำหรับผู้บริหารระดับสูงในองค์กร ผ่านการ “แลกเปลี่ยนเรียนรู้” โดยใช้กรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศกว่า 30 เคส เป็นสารตั้งต้นในการเรียนรู้ หลักสูตรเรียนครึ่งวัน ช่วงพุธบ่าย เป็นเวลา 10 สัปดาห์
หลังจากสถานการณ์โควิดที่เกิดขึ้นจนถึงทุกวันนี้ ได้สร้างทั้งบาดแผลและบทเรียนมากมายทั้งในแง่การดำเนินชีวิต หรือแม้กระทั่งในการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย บริษัท สลิงชอท กรุ๊ป ได้สัมภาษณ์ CEO ในประเทศไทย จำนวน 50 ท่านถึงทิศทางการทำงานและการดำเนินธุรกิจในโลกอนาคตว่าจะเดินไปในทิศทางใด
ไม่ว่าจะเป็น Elon Musk, Jeff Bezos, Steve Jobs หรือแม้แต่ผู้นำระดับโลกที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความอัจฉริยะอยู่ในตัว แต่พวกเขาล้วนตระหนักดีว่าความสำเร็จในธุรกิจจะเกิดขึ้นได้ขึ้นอยู่กับการสร้างทีมงานที่จะมาช่วยทำหน้าที่สร้างความเปลี่ยนแปลงในองค์กร
หากเอ่ยถึงซีอีโอหรือผู้บริหารธุรกิจที่ได้รับการยอมรับว่ามีฝีมือ และมีความโดดเด่นมากที่สุดของโลก หนึ่งในนั้นต้องมีชื่อทิม คุก ซีอีโอแอปเปิลรวมอยู่ด้วยทุกครั้ง
นับเป็นเวลาเกือบ 2 ปีที่ธุรกิจต่างๆ ไม่ว่าจะขนาดเล็กกลางใหญ่ล้วนโดนพิษโควิด-19 เล่นงาน มีธุรกิจจำนวนไม่น้อยที่ต้องปิดตัว แต่ก็ยังมี ‘เหล่าผู้รอดชีวิต’ จากวิกฤตครั้งนี้ได้ แล้วกลยุทธ์อะไรที่พาให้พวกเขารอด!
การเป็นผู้นำให้ประสบความสำเร็จภายใต้สถานการณ์แห่งความไม่แน่นอนเช่นนี้ จำเป็นต้องมีวิธีการรับมือที่แยบยล และนี่คือ 6 กลยุทธ์ที่จะช่วยติดอาวุธให้กับผู้นำในโลกยุคปัจจุบัน
ข้อมูล The 100 Best Global Brands จาก Interbrand ได้บอกกับเราว่าอะไรก็เกิดขึ้นได้ "แบรนด์ที่ใหญ่อยู่แล้ว ก็ใหญ่ขึ้นกว่าเดิมไปอีก’ หรือ ‘แบรนด์ที่ใหญ่ ก็ใช่ว่าจะเอาตัวรอดในช่วงวิกฤต’ แล้วสาเหตุใดที่ทำให้แบรนด์ใหญ่สามารถเติบโตได้ดีในสถาการณ์วิกฤตนี้ล่ะ
ในการสรรหาและคัดเลือกพนักงานที่มีความสามารถสูง เป็นคนที่ใช่ (Right People) สำหรับองค์กร ต้องมีการกำหนดคุณสมบัติที่ชัดเจน คุณสมบัติสำคัญที่ใช้กันอยู่ทั่วๆ ไป พอสรุปได้เป็นโมเดลที่เรียกว่า “Good-Can-Want Model”
SME ส่วนใหญ่มักเริ่มต้นธุรกิจจาก Passion เติบโตจนกลายเป็นธุรกิจ ซึ่งในบางครั้งอาจหลงลืมไปว่า จุดเริ่มต้นที่ทำธุรกิจนี้จริงๆ เพื่ออะไร หลงยึดติดหรือกอดธุรกิจเอาไว้แน่น เพราะถือว่าเป็นความสำเร็จ เป็นความภาคภูมิใจของตัวเอง
ที่ทำงานก็เหมือนกับบ้านหลังที่ 2 เพื่อนร่วมงานคือคนที่เราต้องเจอหน้าและปฏิสัมพันธ์มากที่สุด แต่หากต้องทนอยู่ในสถานที่ทำงานที่เป็นพิษ เจอเพื่อนร่วมงานที่สุดแสนจะไม่เป็นมิตร หรือเจ้านายที่ 2 มาตรฐาน คงทำให้พนักงานไม่อยากทำงานสักเท่าไร