ย้อนกลับไปเกือบ 10 ปีก่อน “calligrapher” หรือ “นักออกแบบตัวอักษรผ่านลายมือ” เป็นอาชีพที่ยังไม่เป็นที่รู้จักในสิงคโปร์ แต่ปัจจุบัน ธุรกิจเกี่ยวกับ calligrapher เริ่มมีให้เห็นประปราย
ที่ผ่านมาเราไม่สามารถซื้อโฆษณาผ่านช่องทาง Line ด้วยตัวเองได้โดยตรงต้องซื้อผ่านเอเจนซี่เท่านั้น ฉะนั้น นี่เป็นข่าวดีสำหรับผู้ประกอบการก็ได้ที่ในวันนี้ไลน์ได้มีการปรับปรุงรูปแบบการให้บริการที่ง่ายขึ้น ผ่าน“Line Ads Platfrom”หรือ LAP
การช้อปปิงออนไลน์ไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป โดยเฉพาะเมื่อเราเผชิญกับสถานการณ์โรคระบาดยิ่งทำให้อี-คอมเมิร์ซเติบโต ซึ่งวิธีที่จะเข้าสู่สนามตลาดออนไลน์ได้เร็ว ง่าย และไม่มีค่าใช้จ่าย ก็คือ ใช้โซเชียลมีเดียนี่เอง
ผู้ประกอบการจะหาลูกค้าจีนใหม่ๆ ได้ง่ายๆ ถ้าลองกลยุทธ์นี้ ซึ่งทำไม่ยากและแพงอย่างที่คิด และยังเป็นกระแสที่ไม่เคยตกในทุก platform จีน ตั้งแต่ปี 2016 กลยุทธ์นี้คือ “Mini game marketing” สร้างความท้าทายให้ลูกค้า ด้วยการตลาดรูปแบบเกม
หลังการมาถึงของวิกฤตโควิด-19 ทำให้ภาคธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบอย่างหนักหน่วง เมื่อลูกค้าต่างชาติหดหาย ลูกค้าคนไทยกลายเป็นเค้กก้อนเดียวที่เหลืออยู่ ผู้ประกอบการรายเล็กอย่าง SME จะรับมือสถานการณ์นี้ด้วยหมัดเด็ดแบบไหน?
ความร้อนแรงของตลาดฟู้ดเดลิเวอรีในปัจจุบัน ทำให้ เจคิว ปูม้านึ่ง Delivery ต้องปรับแผนธุรกิจใหม่ ชูจุดแข็งให้ขาด เพื่อยืนหนึ่งบนความแตกต่าง พร้อมเตรียมตะกร้าไข่ไว้หลายใบ เป็นการปิดประตูความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสทางการแข่งขัน
ไวรัสโควิด-19 เข้ามาเปลี่ยนแปลงอะไรหลายอย่างไปจากเดิม เปลี่ยนสิ่งปกติในอดีตให้เป็นวิถีปกติใหม่หรือที่ เรียกว่า New Normal ในหลายๆ อุตสาหกรรม แม้แต่ในโลกของอุตสาหกรรมไมซ์ หรืออีเวนต์
Bougaville คือแบรนด์สกินแคร์สัญชาติไทยที่อยากมอบผิวที่แข็งแรง สุขภาพดี และคืนความสมดุลให้ผิวของคุณ ที่สำคัญยังเป็นแบรนด์ไทยสุดเฟรนลีที่อยากเป็นส่วนหนึ่งในการซัพพอร์ตแบรนด์ไทยให้ข้ามพ้นวิกฤตไปด้วยกัน
หนังสือ Concept is Everything หรือชื่อไทยว่า “1,000 ไอเดียหรือจะสู้ 1 คอนเซปต์” จะทำให้คุณรู้ว่าคอนเซปต์นั้นสำคัญไฉน ซึ่งต่อให้ไม่ใช่คนที่ทำงานด้านครีเอทีฟหรือความคิดสร้างสรรค์มาก่อน ก็จะเข้าใจคำว่า คอนเซปต์ ได้ไม่ยาก
ในยุควิกฤตผู้ประกอบการต้องรัดเข็มขัด ใช้เงินให้ฉลาด ใช้ความคิดให้มาก และต้องออกจากท่าเล่นเดิมๆ เพื่อไปสู่โอกาสใหม่ๆ โดยใช้พลังของความคิดสร้างสรรค์ไปทำให้เกิดรายได้ไม่ใช่การโฆษณาสินค้า
หลายสิบปีก่อน สิ่งทอไทยถูกมองว่า เป็น “Sunset” ธุรกิจขาลงที่หมดยุคหอมหวานไปนานแล้ว แต่ใครจะคิดว่าวันนี้อุตสาหกรรมสิ่งทอไทยยังคงอยู่และเติบโต ด้วยการปรับตัวของผู้ประกอบการไทยที่ครองใจแบรนด์ดังระดับโลกมานานหลายปี
‘วาริธร กันท์ไพบูลย์’ ผู้หลงใหลในเรื่องราวของศิลปะ เธอเรียนจบทางด้านสถาปัตยกรรม ทำให้มีพื้นฐานด้านการวาดรูปเป็นทุนเดิม กอปรกับความรักในงานศิลปะ จึงประกอบร่างสร้างเป็นแบรนด์แฟชั่นที่ชื่อ Varithorn Boutique ขึ้น