อุปสรรคสำคัญที่ทำให้ธุรกิจของเอสเอ็มอีต้องสะดุดหยุดชะงักหรือไปต่อได้ไม่สุด คือ เงินทุนที่มีอยู่จำกัดจำเขี่ย ต่อให้ขายดีเพียงใด ถ้าไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกันก็กู้เงินจากธนาคารไม่ได้
ในยุคที่เศรษฐกิจผันผวนและการแข่งขันที่รุนแรง ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ต่างต้องการ “เงินทุน” ในการขับเคลื่อนธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน แต่ “การเข้าถึงสินเชื่อในระบบ” ยังเป็นอุปสรรคสำคัญของผู้ประกอบการ ทางออกหนึ่งคือการหันไปหา “เงินกู้นอกระบบ”
ใครว่าธุรกิจเกษตรรวยยากลองไปดูแนวทางของ ‘โอ้กะจู๋’ จากธุรกิจเล็กๆ วันนี้ได้เติบโต พาบริษัท ปลูกผักเพราะรักแม่ เข้าสู่ตลาดมหาชนเรียบร้อย
ตอนนี้ไม่ว่าจะหันไปทางไหน ก็มักได้ยินแต่ข่าวเศรษฐกิจไม่ดี ขายของไม่ได้ ปิดกิจการอยู่เต็มไปหมด ล่าสุดแว่วมาว่าแม้แต่ตลาดจีน ที่เป็นอีกแหล่งส่งออกรายได้หลักของไทย จากจำนวนประชากรที่มีมากกว่า 1,400 ล้านคน ก็ย่ำแย่ไม่ต่างกัน
โดยส่วนใหญ่ในธุรกิจ B2B การสร้างแบรนด์ อาจดูไม่ค่อยมีความจำเป็นมากเท่ากับ B2C ที่ขายปลีกโดยตรงถึงผู้บริโภค ยิ่งเป็นสินค้าที่ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้เป็นส่วนประกอบในงานต่างๆ ตัวอย่างเช่น บันได แต่แล้วทำไม? บันได ต้องมีแบรนด์ ไปดูกัน
Mewre น้ำดื่มเพื่อสุนัขและแมวเจ้าแรกของโลก อีกหนึ่งสินค้านวัตกรรมที่ทำมาเพื่อตอบโจทย์ชาว Pet Parent หรือ การเลี้ยงสัตว์เหมือนลูก เป็นสมาชิกคนหนึ่งในครอบครัว
ยังฮอตแบบต่อเนื่องกับกระแส art toy เชื่อว่าใครหลายคนต้องเคยเห็นขึ้นหน้าฟีดสักครั้ง เพราะคาแรคเตอร์บางตัวน่ารักจนทำอะไรก็กลายเป็นกระแสไปหมด ทำให้ในปีที่ผ่านมา ธุรกิจนี้ทำรายได้มากถึง 19,000 ล้านบาท จากรายงานของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
“บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป” สินค้าที่แต่เดิมอาจถูกมองว่าเป็นสัญลักษณ์ของอาหารราคาย่อมเยา เหมาะกับคนมีงบน้อย โดยเฉพาะช่วงวันใกล้สิ้นเดือน แต่ปัจจุบันกลับเป็นทางเลือกสู่รสชาติพรีเมียมที่หลากหลาย ที่ไม่ได้จำหน่ายแค่ซองละ 5-6 บาท แต่ราคาโดดไปถึง 50-60 บาท
มินิมาร์ทหลบไป นาทีนี้ต้องยกให้ตู้จำหน่ายสินค้าอัตโนมัติ (Vending Machine) ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในเมืองไทย จากข้อมูลของ ttb analytics บอกไว้ว่าในปี 2565 มีจำนวนตู้ในประเทศไทยมากกว่า 30,000 ตู้ ดันให้ตลาดนี้มีมูลค่าราว 5,000 ล้านบาท
ในโลกอุตสาหกรรม 4.0 มีเครื่องมือและวิธีการมากมายที่จะทำให้โรงงานผลิตแบบเอสเอ็มอี สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุน ลดความสูญเสีย เพิ่มแต้มต่อธุรกิจได้ โดยตัวช่วยที่ชื่อ ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (SMC)
เพราะเชื่อว่าโลกใบนี้ไม่มีขยะ มีแค่เพียงทรัพยากรที่วางไว้ผิดที่ผิดทางเท่านั้น เหมือนกับที่ "เอส-ธนินท์รัฐ ธนเศรษฐ์โตกุล" ได้ค้นพบธุรกิจที่ใช่ หลังจากลองผิดลองถูกมาหลายธุรกิจ ซึ่งก็คือ "ธุรกิจรับซื้อของเก่า" ซึ่งเขามองว่าเป็นธุรกิจที่มีความเป็นอมตะ
“จอยอัส” (JOYOUS) แบรนด์บิวตี้ แอคเซสเซอรี่ เช่น แหนบ กรรไกตัดเล็บ กิ๊บติดผม ที่มีวางขายอยู่ในร้านเซเว่นฯ มานานเกือบ 25 ปี สร้างรายได้ปีหนึ่งไม่ต่ำกว่าหลายร้อยล้านบาท