หลังจากราคาแก๊สหุงต้มพุ่งขึ้นไม่หยุด ล่าสุดมีการปรับขึ้นราคาก๊าซหุงต้ม อัตรา 1 บาทต่อกิโลกรัม เป็น 408 บาทต่อถัง ทาง เฟซบุ๊ก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้นำเสนอ ใช้เตามหาเศรษฐีจะสามารถประหยัดไม้ ฟืนและถ่านที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ถึง 500-600 บาท/ครัวเรือน/ปี และช่วยลดการใช้แก๊ส LPG ในครัวเรือน กลายเป็นประเด็นร้อนในโลกออนไลน์
“ของก็แพง ยอดขายก็ตก ทำยังไงกันดีล่ะทีนี้” คงเป็นปัญหาปวดใจให้ผู้ประกอบการหลายคนที่กำลังทำธุรกิจอยู่ในขณะนี้ โดยเฉพาะธุรกิจร้านอาหารที่ได้รับผลกระทบต่อเนื่องยาวนานมากว่า 2 ปี
สานต่อธุรกิจยังไงให้ที่บ้านไว้ใจ อ่านแนวคิดทายาท ร้านอาหารสุขทวี จ.นครศรีฯ ใช้เวลา 5 ปีพิสูจน์ตัวเอง
การเป็นลูกจ้างออฟฟิศโดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 3 เดือนเพื่อพิสูจน์ตัวเองให้นายจ้างยอมรับว่าจะผ่านงานหรือไม่ ในทางตรงกันข้ามถ้าเป็นทายาทที่ต้องการสานต่อธุรกิจกลับไม่มีทฤษฏีหรือมาตรฐานไหนรองรับว่าจะต้องใช้เวลานานแค่ไหน บางคนอาจใช้เวลาเป็นเดือน หรือบางคนต้องใช้เวลาเป็นปีๆ
ทำธุรกิจใครก็อยากเติบโต แต่จะโตแบบไหนนั้นขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เหมือนกับ เจ้าของร้านอาหารตำมั่ว ที่เปิดเผยว่าการขยายกิจการสู่ผู้ผลิตเจ้าของแบรนด์น้ำปลาร้าตำมั่ว นั้นส่วนหนึ่งมาจากวิกฤตโควิดทำให้เขาได้เรียนรู้ในสิ่งที่ไม่คาดคิดมาก่อนด้วยเช่นกัน
เพราะร่างกายของคนเรานั้นมักแตกต่างกันไป บางคนผอม บางคนอ้วน ฯลฯ ความต้องการสารอาหารของแต่ละคนจึงไม่เท่ากัน ในเมื่อผู้บริโภคยุคใหม่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ทำให้การพัฒนาอาหารในรูปแบบ One size fits all อาจไม่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคได้ดั่งเก่า จึงเกิดแนวคิด Tailored to FIT นำไปสู่การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพที่เรียกว่า Personalized Food ที่คาดว่าจะสร้างแรงกระเพื่อมใหม่ในโลกอาหารเพื่อสุขภาพ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการอาหารที่จะขยายฐานกลุ่มลูกค้า
แม้จะมีการผ่อนปรนให้ผู้คนกลับมานั่งทานอาหารได้แล้ว แต่แนวโน้มธุรกิจร้านอาหารปี 2565 ยังเป็นปีที่ต้องระมัดระวัง เนื่องจากยังมีปัจจัยเสี่ยงของการระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์ Omicron และสายพันธุ์อื่นที่อาจเกิดขึ้นได้
ชัยวิวัฒน์ อ่อนอนันต์ ค้นพบวิธีเปิดร้านอาหารเล็กๆ ให้ประสบความสำเร็จได้จากตัวเองแม้อยู่ในทำเลไม่ดี แต่ก็มีลูกค้าแวะเวียนมาชิมไม่ขาดสายตั้งแต่วันแรกที่เปิดร้านจนกระทั่งเจอกับวิกฤตโควิดทางร้านก็ยังไม่เคยประสบภาวะขาดทุน
"โชนัน" ร้านข้าวหน้าเนื้อสไตล์ญี่ปุ่นที่เดิมเปิดให้บริการอยู่ในศูนย์การค้าเกือบ 100 % แต่เมื่อเจอวิกฤตโควิด-19 ทำให้ต้องปรับตัวออกผลิตภัณฑ์มากมาย ล่าสุดได้เปิดตัวแบรนด์ตู้ขายอาหารอัตโนมัติของตัวเองขึ้นมาในชื่อ “ตู้กับข้าว Cloud Kitchen”
กลยุทธ์ต้องรอด ฉบับยักษ์ใหญ่แฟรนไชส์ธุรกิจอาหารอย่าง “เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป” ผู้ให้บริการด้านอาหารและฟาสต์ฟู้ดรายใหญ่ของประเทศ ในวิกฤตโควิด-19 พวกเขาใช้กลยุทธ์ไหนเพื่อไปต่อ
การทำธุรกิจทุกวันนี้กว่าจะผ่านแต่ละเดือนไปได้ หนักหนาสาหัสไม่ใช่เล่นๆ ขณะที่สถานการณ์โลก ไม่มีอะไรเหมือนเดิมอีกต่อไป เราอยู่ในยุคโรคระบาด 1 ปีเต็ม เข้าปีที่ 2 สำหรับคนทำธุรกิจการปรับตัวถูกนำมาใช้ทุกวิถีทาง การดำเนินชีวิตเปลี่ยนไปทุกอย่าง
ข้าวขาหมู พ.4 ร้านข้าวขาหมูในตำนานย่านดินแดง โควิดระลอกแรกพวกเขาส่ง “ขาหมูสู้ Covid” ขาหมูพร้อมรับประทานที่สามารถเก็บได้นานโดยรสชาติไม่เปลี่ยน และโควิดระลอกนี้ พวกเขาแจ้งเกิดนวัตกรรมใหม่ โดยไม่ต้องลงทุนเพิ่ม แต่ใช้ต้นทุนเดิมที่มีพลิกวิกฤต
เพื่อให้ธุรกิจอยู่รอด ผ่านพ้นช่วงที่เหลือของปี 2564 นี้ไปให้ได้ ผู้ประกอบการจำเป็นต้องสำรวจธุรกิจว่ามีความเสี่ยงแบบไหน จะเป็นเรื่องรายได้ ช่องทางการขาย ต้นทุน หรือภาระหนี้สิน เมื่อประเมินความเสี่ยงที่กำลังเผชิญอยู่ แล้วอุดจุดอ่อนเหล่านี้ให้ได้