ในปัจจุบันเรามักจะเห็นอาหารพร้อมทาน (Ready-to-eat) หลากหลายแบรนด์วางไว้ในตู้แช่แข็ง ที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภคทำให้อาหารพร้อมทานในประเทศในปี 2563 มีมูลค่าประมาณ 4.4 หมื่นล้านบาท และก็ยังมีแนวโน้มโตต่อเนื่องได้อีก
ปฏิเสธไม่ได้ว่าทุกวันนี้ นวัตกรรม คือ สิ่งสำคัญในการสร้างธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน แต่กลับพบว่าผู้ประกอบการบางส่วนยังไม่สามารถเข้าถึงและใช้นวัตกรรมได้อย่างเต็มที่ ลองมาฟังบทเรียนจาก 3 Power Brand เพื่อใช้นวัตกรรมสร้างโอกาสให้ธุรกิจจากภาวะวิกฤต จากเวทีงานเปิดตัว The Founder II
เชื่อสิของทุกอย่างบนโลกย่อมมีประโยชน์ แม้แต่ของเสียอย่าง"อุจจาระ" ยังสามารถนำมาดัดแปลงทำสิ่งของและธุรกิจได้ตั้งหลายอย่างเลย
การทำธุรกิจ ไม่ว่าธุรกิจอะไรก็ตามจะเล็ก หรือ ใหญ่ หากมีมุ่งมั่นตั้งใจจริงแล้วละก็ ยังไงสักวันหนึ่งความสำเร็จก็ต้องมาเยือนอย่างแน่นอน ดูอย่างเรื่องราวของ “เจ๊ไฝ”
เพราะความ Perfect มากๆ บางทีก็น่าเบื่อแหละ ในทำนองกลับกัน ความไม่ลงตัวในบางเรื่อง ก็เป็นเสน่ห์ที่น่าหลงรักได้เหมือนกัน
ในปัจจุบันพบว่าประชากรทั่วโลกทานอาหารเค็มกันเพิ่มมากขึ้น ทำให้หลายประเทศได้มีการวางเป้าหมายการลดเกลือในอาหารแปรรูปทั่วไป
ยิ่งนานวันอาหารที่ทำจากพืช หรือ Plant-based food ได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ อาจเป็นด้วยเทรนด์การใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภค รวมไปถึงการห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงการไม่เบียดเบียนสัตว์
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ หรือ FAO คาดการณ์ว่าในปี 2593 หรืออีกราวไม่ถึงสามสิบปีข้างหน้าจะมีประชากรทั่วโลกเพิ่มสูงเป็น 9,000 ล้านคน ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหารได้
ย้อนไปเมื่อสัก 10-20 ปีก่อน อาหารเกาหลียังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายนัก ต่างจากปัจจุบันที่ร้านอาหารเกาหลีนอกประเทศได้รับความนิยมมากขึ้นจนตีตื้นขึ้นมาได้รับความสนใจพอ ๆ กับอาหารเอเชียชาติอื่น
รู้ไหมว่ากว่าผลไม้จะส่งถึงมือผู้บริโภคได้นั้น ต้องเกิดการสูญเสียระหว่างทางไม่ใช่น้อย ว่ากันว่าเฉพาะในกระบวนการผลิตไปจนถึงซูเปอร์มาร์เก็ต คาดว่ามีผลไม้และผักสด 52% เกิดจากการเน่าเสียจะถูกทิ้งก่อนที่จะส่งถึงมือผู้บริโภค
ในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการแต่ละคน แรงบันดาลใจในการเริ่มต้นมักแตกต่างกันไป แต่เป้าหมายที่เหมือนกันคือรายได้และกำไรที่หล่อเลี้ยงให้ธุรกิจเดินหน้าต่อไป อเล็กซ์ หันสักดา หนุ่มอเมริกันเชื้อสายลาว เจ้าของธุรกิจร้านอาหาร “แซ่บแซ่บ” ในเมืองมิลวอกี้ รัฐวิสคอนซินเองก็เป็นหนึ่งในนั้น เพียงแต่เส้นทางสู่ธุรกิจร้านอาหารของเขาอาจมีคอนเซปต์ที่แตกต่างออกไป
เพราะร่างกายของคนเรานั้นมักแตกต่างกันไป บางคนผอม บางคนอ้วน ฯลฯ ความต้องการสารอาหารของแต่ละคนจึงไม่เท่ากัน ในเมื่อผู้บริโภคยุคใหม่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ทำให้การพัฒนาอาหารในรูปแบบ One size fits all อาจไม่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคได้ดั่งเก่า จึงเกิดแนวคิด Tailored to FIT นำไปสู่การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพที่เรียกว่า Personalized Food ที่คาดว่าจะสร้างแรงกระเพื่อมใหม่ในโลกอาหารเพื่อสุขภาพ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการอาหารที่จะขยายฐานกลุ่มลูกค้า