“บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป” สินค้าที่แต่เดิมอาจถูกมองว่าเป็นสัญลักษณ์ของอาหารราคาย่อมเยา เหมาะกับคนมีงบน้อย โดยเฉพาะช่วงวันใกล้สิ้นเดือน แต่ปัจจุบันกลับเป็นทางเลือกสู่รสชาติพรีเมียมที่หลากหลาย ที่ไม่ได้จำหน่ายแค่ซองละ 5-6 บาท แต่ราคาโดดไปถึง 50-60 บาท
วันหยุดยาวช่วงปีใหม่นี้ สำหรับใครที่ไม่ได้เดินทางไปท่องเที่ยวที่ไหน นี่อาจเป็นจังหวะเหมาะที่คุณจะได้สะสางบ้านแบบ Big Cleaning กันไปเลย อะไรที่ยังเอาไว้ อะไรที่ควรทิ้ง เพื่อให้บ้านน่าอยู่อาศัย น่าพักผ่อน อยู่บ้านได้อย่างมีความสุขโดยไม่ต้องเดินทางไปเที่ยวไหนไกลๆ กัน
ในปี 2559 ในขณะที่ทวีปแอฟริกา ซึ่งเคยเป็นความหวังให้หลายบริษัทเข้าไปลงทุน กลับย่ำแย่จนหลายธุรกิจเริ่มถอดใจ แต่ทำไม "อินโดหมี่" บะหมี่สัญชาติอินโดนีเซีย กลับโตสวนกระแสมียอดขายเพิ่มขึ้น จนถึงขั้นต้องไปตั้งโรงงานผลิต
ในปัจจุบันเรามักจะเห็นอาหารพร้อมทาน (Ready-to-eat) หลากหลายแบรนด์วางไว้ในตู้แช่แข็ง ที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภคทำให้อาหารพร้อมทานในประเทศในปี 2563 มีมูลค่าประมาณ 4.4 หมื่นล้านบาท และก็ยังมีแนวโน้มโตต่อเนื่องได้อีก
ในปัจจุบันมีธุรกิจเกิดขึ้นมากมาย บางธุรกิจก็อยู่ได้นาน บางธุรกิจก็ปิดตัวลงบ้าง บางธุรกิจก็เปิดตัวใหม่เพื่อเข้ามาแทนที่ธุรกิจที่ปิดตัวลงไป มันเหมือนเป็นวัฏจักรของการทำธุรกิจเลยว่าไหม และ 4 ธุรกิจที่เรากำลังจะพูดถึงนี้อยู่มานานมากกว่า 100 ปี แล้วแต่ละธุรกิจใช้กลยุทธ์อะไรในการทำให้ธุรกิจอยู่รอดมาถึงตอนนี้
ถ้าพูดถึงวิวัฒนาการน้ำดื่มบรรจุขวดของไทย ก่อนจะมาเป็นขวด PET ใสๆ อย่างที่เราเห็นกันทุกวันนี้ หลายคนคงพอรู้จักและเห็นหน้าค่าตากับน้ำขวดขุ่นราคา 5 บาท ซึ่งแน่นอนว่าแบรนด์แรกที่ถือกำเนิดขึ้นนั้นคงเป็นอย่างอื่นไปไม่ได้นอกจาก “Polaris”
จากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้ส่งผลต่อรูปแบบการใช้ชีวิต รวมถึงความต้องการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์อาหารของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
การมาถึงของไวรัสตัวร้าย ทำให้ผู้คนมีความตระหนักถึงปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตของตัวเองมากขึ้น มีรูปแบบการใช้ชีวิตที่แปรเปลี่ยน ตลอดจนความต้องการที่เปลี่ยนไป เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมอาหารในเอเชียที่กำลังจะพลิกโฉมหลังโควิด-19
“มาม่า” แบรนด์บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่อยู่คู่เมืองไทยมายาวนานกว่า 48 ปี แม้ไม่ใช่แบรนด์แรกที่เกิดขึ้นในตลาด แต่กลับเป็นแบรนด์ที่ถูกนำมาเรียกกันติดปาก แทนชื่อเรียกบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปของคนไทยมาจนทุกวันนี้
ปี 2562 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารของไทยลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ปี! ที่ร้อยละ 2.0 ส่งออกสินค้าอาหารมีมูลค่าที่ 1.02 ล้านล้านบาท หดตัวลงที่ร้อยละ 3.8 จาก 3 ปัจจัยหลัก ทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก การแข็งค่าของเงินบาท และราคาอาหารโลกที่ปรับตัวลดลง
ปี 2563 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าตลาดอาหารและเครื่องดื่มในประเทศจะโตเพียงร้อยละ 2.4-4.4 (YoY) แต่อาหารพร้อมทาน ยังมีแนวโน้มเติบโตสูงกว่าตลาดรวม โดยขยายตัวร้อยละ 3.0-5.0 (YoY) มีมูลค่าตลาดอยู่ที่ 20,200-20,500 ล้านบาท