การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบต่อธุรกิจมากมาย ล่าสุด DIProm หน่วยงานภาครัฐได้ออก 5 มาตรการเร่งด่วนช่วย SME แก้ปัญหา โดยใช้เวลาดำเนินการ 60 วันด้วยกัน
Business Ecosystems มีข้อดีมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับธุรกิจขนาดเล็ก หรือ SME ซึ่งมักมีทรัพยากรจำกัดและอาจขาดอำนาจต่อรอง ทำให้อาจพลาดข้อได้เปรียบต่างๆ เฉกเช่นเดียวกันกับที่ธุรกิจขนาดใหญ่พึงได้รับ
บล็อกเชน นอกเหนือจากการเป็นเทคโนโลยีเบื้องหลังของสกุลเงินดิจิทัลแล้วยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลายในด้านการเงิน แม้แต่การนำไปใช้เป็นตัวช่วยสำหรับธุรกิจ SME ในด้านการเงิน
“รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง” เป็นประโยคที่คุ้นหูกันดี ซึ่งเป็นข้อคิดเชิงปรัชญาจาก “ซุนวู” ผู้เขียนตำราพิชัยสงคราม แต่ธุรกิจก็สามารถนำกลยุทธ์ของซุนวู มาประยุกต์ใช้ในการจัดการทีมงานและบริหารธุรกิจได้เหมือนกัน
สำหรับธุรกิจขนาดเล็กหรือขาดหลักทรัพย์ที่จะมาค้ำประกัน โอกาสที่จะได้รับเงินกู้จากธนาคารจะมีน้อยลง ทำให้เกิดเครื่องมือเสริมสภาพคล่องรูปแบบใหม่นั่นคือ Debt Crowdfunding ที่ ก.ล.ต. อนุญาตให้ SME ออกหุ้นกู้และสามารถเสนอขายให้กับบุคคลทั่วไปได้
เมื่อธุรกิจได้รับผลกระทบจากการโควิด-19 นับเป็นช่วงเวลาที่กระแสเงินสดมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ขอแนะนำ 5 เคล็ด (ไม่) ลับที่จะช่วย SME บริหารกระแสเงินสดได้ดีในยุค New Normal
รู้ไหมว่าในปีวิกฤตโควิดที่ผ่านมา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์อย่าง “แสนสิริ” ช่วย SME ไปแล้วกี่ราย? แล้วพวกเขาใช้โมเดลไหนในการช่วยเหลือ ให้ วิน-วิน ทั้งกับแสนสิริและ SME ขณะที่ปีนี้ยังขยายความร่วมมือมาดึงภาคการเงินอย่าง SCB มาร่วมด้วย
ในห้วงเวลาที่ประเทศไทย ยังเผชิญหน้ากับสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 กลายเป็นความท้าทายของผู้นำคนใหม่ของ สสว. ที่จะวางนโยบายและแนวทางในการขับเคลื่อน SME ไปในทิศทางไหน เพื่อให้ก้าวผ่านวิกฤต และมีโอกาสเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต
ทีเอ็มบีและธนชาต สนับสนุนเอสเอ็มอีให้เติบโตอย่างมั่นคง ส่งสินเชื่อเจาะกลุ่มเอสเอ็มอีที่เป็นบุคคลธรรมดา ด้วย “สินเชื่อ SME ไม่มีสะดุด” (SME So Smooth) และ “สินเชื่อ SME ก้าวกระโดด” (SME Step Up) รองรับธุรกิจที่ต้องการเงินทุนก้อนใหญ่ขึ้น
ปีนี้อาจจะยังไม่เหมาะกับการใช้เงินจำนวนมากเพื่อลงทุนไปกับการทำแบรนดิ้งหรือสร้างแคมเปญการตลาดใหญ่ๆ สถานการณ์โรคระบาดที่ยาวนานทำให้ต้องเก็บเงินสำรองเอาไว้ก่อน ถึงอย่างนั้นธุรกิจก็จำเป็นต้องสื่อสารกับกลุ่มลูกค้าและผู้บริโภคอย่างสม่ำเสมอ
รมว.อุตสาหกรรม มอบนโยบายให้ ธพว. เดินหน้าเติมทุนสินเชื่อเงื่อนไขพิเศษช่วย SME ตั้งเป้าอนุมัติสินเชื่อ 40,000 ล้านบาท ช่วย SME ได้ 24,000 กิจการ รักษาการจ้างงาน 120,000 ราย สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจกว่า 90,000 ล้านบาท
ธพว.ยกขบวนช่วยเหลือ SME ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ชูแนวทางให้ “ความรู้คู่ทุน” แจงด้านการเงิน เยียวยาลดภาระค่าใช้จ่าย บรรเทาผลกระทบไปแล้วกว่า 4 หมื่นราย