โควิด-19 ทำให้พื้นที่เคยเป็นทำเลทองกลับกลายเป็นทำเลร้าง ทำเลที่เคยมีค่าเช่าที่แพง ปัจจุบันค่าเช่ายังแพงเหมือนเดิมแต่ร้านค้ากลับไม่สามารถขายได้ Penguin Eat Shabu (เพนกวิน อีท ชาบู) ก็เผชิญกับสถานนี้เช่นกัน
ย้อนกลับไปเกือบ 10 ปีก่อน “calligrapher” หรือ “นักออกแบบตัวอักษรผ่านลายมือ” เป็นอาชีพที่ยังไม่เป็นที่รู้จักในสิงคโปร์ แต่ปัจจุบัน ธุรกิจเกี่ยวกับ calligrapher เริ่มมีให้เห็นประปราย
คนทำธุรกิจทุกคนรู้ดีว่า ‘ข้อมูล’ ของลูกค้าเป็นเหมือนขุมทรัพย์ที่จะช่วยให้ชี้ทางสว่างให้กับธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงเวลาที่ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ยิ่งต้องทำความเข้าใจผู้บริโภคให้มากขึ้นและเร็วขึ้นเท่าตัว
ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงนี้ธุรกิจต่างๆ ต่างตั้งคำถามว่าจะวางกลยุทธ์อย่างไร และนี่คือ 7 วิธีพัฒนาธุรกิจให้ตอบสนองต่อแนวโน้มในปัจจุบันให้ทันท่วงที ไม่ว่าเศรษฐกิจจะขึ้นหรือลงก็ตาม
อีกหนึ่งกลยุทธ์ที่ธุรกิจควรรู้หรือ การตั้งราคาที่จะช่วยเพิ่มยอดขายทำรายได้ให้กับบริษัท ซึ่งมีมากมายหลายวิธีที่จะทำให้ลูกค้าซื้อของของคุณเพิ่มมากขึ้น หนึ่งในวิธีที่บริษัทระดับโลกใช้กันคือ Decoy Pricing การตั้งราคาในเชิงจิตวิทยา
หนึ่งในสินค้าอะไรที่มาแรงในตลาดโลกขณะนี้คงหนีไม่พ้น “เนื้อสัตว์เพาะเลี้ยง” หรือ Cultured Meat จากความต้องการบริโภคเนื้อสัตว์ ความท้าทายในการผลิตเนื้อสัตว์ และปัญหาการขาดแคลนเนื้อสัตว์ในอนาคต เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์และนักธุรกิจทั่วโลกให้ความสนใจ
เรียกว่าเป็นนักออกแบบรุ่นใหม่ไฟแรงที่สร้างความตื่นเต้นและน่าเหลือเชื่อให้กับวงการออกแบบบรรจุภัณฑ์ไทยได้อยู่เสมอๆ สำหรับ “สมชนะ กังวารจิตต์” ผู้ก่อตั้งบริษัท พร้อม ดีไซน์ เอเชีย จำกัด หรือเรียกสั้นๆ ว่า “Prompt Design”
กฎหมายใหม่ได้เปิดทางให้เกิดการระดมทุนแบบ SME-PO ขึ้นแล้ว สามารถเปิดระดมทุนแบบสาธารณะได้ในวงกว้างหรือ Public Offering โดยไม่ต้องขออนุญาตกับสำนักงาน ก.ล.ต. ซึ่งจะทำให้ขั้นตอนการของระดมทุนมีความรวดเร็วและคล่องตัว
เซลลาร์เบรชั่น (Cellarbration) พัฒนาช่องทางจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบออนไลน์และจัดส่งถึงที่ ลูกค้าไม่ต้องเดินทางมาที่ร้าน เพียงแต่ลูกค้าต้องสแกน QR Code จากแอปพลิเคชัน Singpass บนสมาร์ทโฟนเพื่อยืนยันว่ามีอายุว่าเกิน 18 ปี
หลังจากนี้ “ไทยพาณิชย์” ที่เรารู้จักจะไม่ใช่แค่ธนาคารอีกต่อไป แต่จะกลายเป็นกลุ่มบริษัทที่มีธุรกิจการเงินและแพลตฟอร์มทางเทคโนโลยีที่หลากหลาย สามารถตอบสนองความต้องการใหม่ๆ ของผู้บริโภคในวันนี้และอนาคตได้
“คนเผาถ่าน” คำพูดที่ติดอยู่ในใจ บอย-ปราโมทย์ เตือประโคน มากว่า 20 ปี กลายเป็นคำที่ทำให้เขายอมตัดสินใจลาออกจากงานประจำทันทีตอนที่ขายถ่านได้ 10 ตัน ก้าวสู่เจ้าของโรงงานถ่านอัดแท่งที่ทำรายได้ปีละ 8 หลักในเวลาสองปี
หนึ่งวิธีที่ทำให้เหลือ “ขยะ” น้อยลงได้ คือการนำของเหลือเหล่านั้นมาผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า ที่อาจเรียกได้ว่าอาจจะเป็นวิธีที่สร้างมูลค่าเพิ่มได้มากที่สุด