ธุรกิจแฟรนไชส์มีมูลค่าตลาดสูงถึง 3 แสนล้านบาท ไม่รวมร้านสะดวกซื้อขนาดใหญ่ จึงยังเป็นทางเลือกของการลงทุน แล้วมีแฟรนไชส์อะไรในปี 2025 ที่ควรค่าแก่การลงทุน ไปอัปเดตกันเลย
เป้าหมายการทำธุรกิจของหลายคนอาจเป็นเรื่องรายได้ แต่สำหรับ ต๊อก-ปีรัชด์ อนันตพันธ์ และ แต๊ก-ปานชาติ มิตรกูล มีเป้าหมายสร้างแบรนด์ "อภิบาลบ่อพลับ" เพื่อให้ทุกคนได้ระลึกถึงตำรายาไทย 150 ปี จากบรรพบุรุษของเขาที่ชื่อ ขุนอภิบาลบ่อพลับ
ลองมาดูวิธีพลิกเกมสู้ในสนามการแข่งขันของธุรกิจ Gift Shop ของสุรัตน์ ปทุมทอง เจ้าของแบรนด์ Tommy Gift กระดานแม่เหล็กลายแผนที่สุดชิค โดยใช้หมัดเด็ดนั่นก็คือการทำ Brand Support หรือ การแตกแบรนด์ใหม่ ทำสินค้าใหม่
ปัญหาหนึ่งของงานคราฟต์ไทย ที่ทำให้ไม่ได้รับความนิยมมากเท่าที่ควร แม้จะเป็นงานทรงคุณค่า ก็คือ ไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้จริงอยู่ในชีวิตประจำวันได้ แต่อาจไม่ใช่กับ tISI (ธิซายด์) แบรนด์แฟชั่นไทยน้องใหม่ที่มองว่าไม่จำเป็นต้องอนุรักษ์ หากสิ่งนั้นเป็นที่ต้องการอยู่แล้ว
เพราะความฝันที่จะสานต่อโรงแรมเก่าแก่ "แสงทอง" ที่บรรพบุรุษสร้างขึ้น กรรณิการ์ หนูห่วง ทายาทรุ่นที่ 3 จึงตัดสินใจกลับ จ.นครพนม เพื่อหวังฟื้นฟูโรงแรมที่มีสถาปัตยกรรมโบราณให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง ท่ามกลางความไม่เห็นด้วยของครอบครัว และโจทย์หินมากมาย
จ๋าย-สุภาภรณ์ บุญมาคลี่ เจ้าของร้านที่กำลังมาแรงบนโลกออนไลน์กับร้าน พิซซ่าโคนในบ้าน ที่หยิบเอาคอนเทนต์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันมาปั้นจนกลายเป็นคลิปสุดแมส แถมเรียกลูกค้าเข้ามาอย่างไม่ขาดสายแม้ว่าทำเลจะอยู่ในบ้านที่ไม่มีคนผ่านไปผ่านมาก็ตาม
เมญ่า-ศุภกฤต พลเสน นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ด้านแฟชั่นดีไซน์ อายุ 19 ปี ที่เริ่มต้นธุรกิจขึ้นมาด้วยความบังเอิญ จากงานโปรเจกต์ส่งครูที่นำไปเผยแพร่เล่นๆ บน TikTok อยู่ดีๆ ก็มีคนเข้ามาดูเกือบครึ่งล้าน กลายเป็นที่มาตัดสินใจสร้างแบรนด์ขึ้นมา
เพราะอายุไม่ใช่สิ่งที่จะบ่งบอกว่าควรเริ่มต้นธุรกิจตอนไหน กิ๊ก-อมรรัตน์ พรหมพิชิต เริ่มต้นทำธุรกิจครั้งแรกในวัย 13 ปี กับการพรีออร์เดอร์สินค้าจากเกาหลี จากนั้นใช้เงินต่อยอดสู่การเล่นหุ้นจนถึงการปั้นแบรนด์เครื่องหอมสุดลักชูรี่ “KICKIN' Thailand” ตอนที่เธออายุ 17 ปี
Samarn Craft แบรนด์คราฟต์เบียร์ชาไทยกำลังจะสร้างปรากฏการณ์ใหม่ให้กับวงการคราฟต์เบียร์ไทย ที่ไม่เพียงเป็นเบียร์ถูกกฎหมาย แต่ เจ็น-ชาญชัย รัศมี เจ้าของแบรนด์ Samarn craft ยังมีเป้าหมายที่จะพาคราฟต์เบียร์ชาไทยตัวนี้ไปตีตลาดจีน
ในวันนี้ร้านน้ำชา จ.นราธิวาส บางร้านเริ่มถูกดัดแปลงเป็นร้านกาแฟตามยุคสมัย คนรุ่นใหม่เริ่มเปลี่ยนผ่านสถานที่รวมตัว D'Art Cafe & Coffee Lab จึงเกิดขึ้นในหอศิลป์ De' Lapae Art Space Narathiwat เพราะอยากจะให้ผู้คนได้ใกล้ชิดศิลปะ โดยมีคาเฟ่เป็นจุดเชื่อมโยง
นคร แขฉายแสง วิศวกรผู้รักในงานประดิษฐ์ และลองผิดลองถูกกับการปลุกปั้นชิ้นงานต่างๆ เพื่อหวังเติบโตทางธุรกิจ แต่แล้วในวันหนึ่งเมื่อเขาเข้าใจปรัชญาอิคิไกอย่างลึกซึ้ง จึงเริ่มต้นทำธุรกิจอีกครั้งด้วยความมั่นใจ และคาดหวังว่าจะความยื่งยืนในวิถีอิคิไก
เรื่องราวของ เฟิร์น - ศิลินลักษ์ ตุลยานันต์ CEO บริษัท ฟู้ด อีควิปเม้นท์ จำกัด ผู้นำเข้าและผลิตเครื่องจักรแปรรูปอาหาร ที่ครั้งหนึ่งเคยเกือบถูกไล่ออกจากบริษัทของตัวเอง จากความมุ่งมั่น และจริงจังในการทำงานที่มีมากเกินไปจนล้น เป็นยังไง ไปติดตามกัน