ปัญหาหลักในการเติบโตขยายตัวต่อของ SME คือ การปั้นพัฒนาพนักงานเพื่อแตกกิ่งก้าน ซึ่งก็มีหลากหลายปัจจัยที่ทำให้การพัฒนานั้นเกิดขึ้นได้ยากและมีปัญหาในหลายๆ มิติ วันนี้จะชวนมารู้จัก "Empathy" หรือความสามารถในการเข้าใจคนอื่นในมุมมองที่เขาเป็นกัน
ในปัจจุบันการขายของออนไลน์ให้อยู่รอดและได้กำไร เป็นเรื่องที่ไม่ได้ง่ายเลยทีเดียว บางคนขายของไม่เก่ง ไม่กล้า Live ทำให้เสียโอกาสช่องทางขายไป แต่อาจแก้ไขได้ด้วยการทำ Content นอกจากช่วยแก้ปัญหาแล้วยังสาสามารถสร้างรายได้อย่างเป็นกอบเป็นกำเหมือน Youtuber, Tiktoker ด้วย
เพราะลูกค้าคือ หัวใจสำคัญในการทำธุรกิจ การทำ Customer Segment จึงทำให้ทราบว่าใครคือลูกค้า เพื่อที่ธุรกิจโจทย์ลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ นี่คือวิธีการทำ Customer Segment ช่วยให้ธุรกิจเติบโตไม่มีหยุด
ในภาวะลำบากแบบในปัจจุบัน สิ่งที่ SME อย่างเราๆ ต้องการก็คือ การที่ทีมงานสามารถทำงานได้มากขึ้น ทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยที่จำนวนทีมงานไม่ได้เพิ่มขึ้นตาม หรือได้งานมากขึ้น แต่จำนวนคนไม่เพิ่มขึ้นนั่นเอง
จากบริษัทเล็กที่ทำรายได้ร้อยล้านในเวลาไม่ถึงสิบปี วันนี้เราจะพามาเจาะลึกลงไปอีกว่า การขยับองค์กรไปสู่เป้ารายได้ระดับพันล้านในอีก 3-5 ปีข้างหน้าของ Sellsuki จะต้องทำอย่างไร ภายใต้แนวคิดการบริหารของ CEO ภัทร เถื่อนศิริ
ในช่วงอาทิตย์ที่ผ่านมาได้มีกระแส “ที่สุดของการโฆษณา” เกิดขึ้น จากเพจของ คุณสรยุทธ สุทัศนะจินดา จึงขออนุญาตหยิบยกกรณีศึกษานี้มาพูดคุยกันเรื่อง Marketing 5.0
“อารีฟู้ดส์” SME ที่ทำอาหารแช่แข็งส่งให้กับครัวร้อนในซูเปอร์มาร์เก็ตหลายแห่ง มีรายได้ต่อปีที่ประมาณ 150 ล้านบาท เมื่อต้องเจอกับโควิด-19 จึงปรับสายพานการผลิตมาสู่สินค้าประเภท Ready to Eat ที่รองรับกับพฤติกรรมของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้บริโภค
“ปีเตอร์ ดรักเกอร์” กูรูด้านการบริหารจัดการผู้ล่วงลับ กล่าวไว้ว่า “พนักงานที่ลาออก ส่วนใหญ่ไม่ใช่เพราะองค์กร แต่ออกเพราะหัวหน้า” ยังคงเป็นความจริงที่น่าเกลียดสำหรับหลายๆ องค์กร
“ความคิดสร้างสรรค์” ไม่ใช่เรื่องที่ยากเกินไป และไม่ใช่พรสวรรค์ของใครบางคนอย่างที่เราเคยเชื่อกัน เพราะไม่ว่าใครก็มีความคิดสร้างสรรค์ที่ดีได้ทั้งนั้น ขอแค่เข้าใจหลักการ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เพียงเท่านี้ความคิดสร้างสรรค์ก็บรรเจิดได้ทุกคน
ไม่ว่าจะยุคนี้หรือยุคที่ผ่านมา กุญแจสำคัญของการทำตลาดยังคงหนีไม่พ้นเรื่อง “ความเข้าใจลูกค้าอย่างลึกซึ้ง” ซึ่งวันนี้หมดยุคเดาความต้องการ แต่ต้องรับฟังสิ่งที่ลูกค้าเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
เมื่อคลื่นความเปลี่ยนแปลงทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ และดูท่าว่าจะไม่มีใครหนีคลื่นลูกนี้พ้นเสียด้วย หากเป็นเช่นนี้ หลายๆ แบรนด์คงต้องคิดหาทางออกแล้วว่า จะทำอย่างไรธุรกิจถึงยังจะอยู่รอดได้ในทุกเจเนอเรชัน และนี่คือกฎเหล็กของการอยู่รอดที่แบรนด์ต้องทำ!
เพราะทุกธุรกิจต้องอาศัยคนในการทำงาน ผู้บริหารจึงต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ในการบริหารงาน โดยไม่สามารถขาดอย่างใดอย่างหนึ่งได้ แล้วกลยุทธ์แบบไหนกันที่เรียกว่าแข็งแกร่งและสามารถดึงคนที่ทั้งเก่งและดีให้อยู่กับองค์กรได้