“ธุรกิจอี-คอมเมิร์ซ” เป็นธุรกิจที่ยังเติบโตสวนทางกับธุรกิจอื่นๆ เพิ่มฐานลูกค้า สร้างการเติบโตทางรายได้และขยายสู่โอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ เดอะ ฟินแล็บ มีคำแนะนำ 5 ข้อสำหรับ SME ที่ต้องการเข้าถึงตลาดอี-คอมเมิร์ซที่กำลังเฟื่องฟู ไปดูพร้อมๆ กัน
หลายคนอยากกระโดดเข้าสู่วงการ Food Tech แต่ถนนเส้นนี้ไม่ง่าย! มาฟัง บมจ. ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป คุยเรื่องอาหารแห่งอนาคตและโอกาสของผู้ประกอบการไทย ตลอดจนการทำงานร่วมกัน เพื่อร่วมขับเคลื่อนนวัตกรรมอาหารไทยสู่ตลาดโลก
“อรรถ - อรรถพล ไชยจักร” อดีตวิศวกรสื่อสารที่ผันมาเอาดีกับอาชีพเกษตร เขาสร้าง “Farm Behind the Barn” (ฟาร์มบีไฮด์เดอะบาร์น) หรือ “ไร่หลังฉาง” เปลี่ยนไร่เผือก ไร่มันสัมปะหลังให้กลายเป็นเกษตรผสมผสาน จนรู้สึกได้ถึงความสุขของการได้พึ่งพาตนเอง
ไอติมหวานเย็นในหลอดใส ใช้ชื่อแบรนด์ว่า “ฟรีซช็อต” ชูจุดต่างด้วยการเป็น สมูทตี้ที่ไม่ต้องปั่น นวัตกรรมความอร่อยโดนใจเด็กๆ เปิดตัวครั้งแรกด้วยการขายได้เกือบหมื่นหลอดในเวลาเพียง 4-5 วัน และยังคว้ารางวัลนวัตกรรมระดับประเทศมาแล้ว
หากยังพอจำกันได้เมืองไทยมีกระแสขนมปังก้อนกลม “โรตีบอย” ที่ฮิตกันทั่วบ้านทั่วเมืองอยู่พักหนึ่ง เวลาจะล่วงเลยมานานนับสิบปี และตัวขนมปังต้นฉบับเองจะไม่ได้อยู่ในเมืองไทยแล้ว แต่หากเห็นขนมปังก้อนกลมลักษณะเดียวกันนี้ใครๆ ต่างก็ยังเรียกว่า โรตีบอย
ไม่ต้องเถียงกันอีกต่อไปว่ามะเขือเทศเป็นผักหรือผลไม้ เพราะฟาร์ม “แตะขอบฟ้า” ได้สร้างนิยามใหม่ไว้ให้เรียบร้อยแล้ว ด้วยการปรับมะเขือเทศให้เป็นผลไม้รสชาติหวานฉ่ำมันซะเลย!
ทายาทธุรกิจขนส่งสินค้ากว่า 50 ปี หาวิธีช่วยให้การทํางานของธุรกิจครอบครัวมีประสิทธิภาพขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีและวิธีการใหม่ๆ มาทำให้การบริหารงานกระชับและลื่นไหล ก่อเกิดเป็นธุรกิจโลจิสติกส์ครบวงจร สร้างชื่อเสียงแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างขึ้น
สวนเกษตรเล็กๆ แถวรังสิต คลอง 10 จ.ปทุมธานี ได้บุกเบิกนำ “แก้วมังกร” มาทดลองปลูกในประเทศไทย และวันนี้ยังให้กำเนิดแบรนด์ “Fruitaya” (ฟรุตทายา) ผลิตภัณฑ์แยม น้ำแก้วมังกร และแก้วมังกรอบแห้ง นวัตกรรมความอร่อยจากผลผลิตทางการเกษตรที่เข้ามาตอบตลาดคนรักสุขภาพโดยเฉพาะ
ย้อนกลับไปในวันที่ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิต Plant-based กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ทำงานด้านการออกแบบนวัตกรรม เกิดไอเดียที่จะทำร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในคอนเซปต์ Plant-based Thai Street Food ขึ้น โดยใช้เนื้อจากพืชมาปรุงเป็นอาหารรสแซ่บสไตล์สตรีทฟู้ดแบบไทยๆ
วันแรกที่มะเขือเทศ Take Me Home วางขายในตลาดขายส่งผัก-ผลไม้เมืองเชียงใหม่ ทำยอดขายไปได้ทั้งสิ้น “0 บาท!” ผ่านมา 15 ปี มะเขือเทศที่คนเมินใส่ในวันแรก เติบใหญ่กลายเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายมะเขือเทศสดในระบบไฮโดรโปนิกส์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
เมื่อชีวิตในเมืองหลวงไม่ตอบโจทย์ “เสาวลักษณ์ มณีทอง” ลูกหลานเกษตรกรใน อ.แม่ระมาด จ.ตาก ตัดสินใจกลับไปบ้านเกิดทำธุรกิจแปรรูปสมุนไพร สร้างรายได้และความสุขสู่ชุมชน และยังส่งออกไปไกลถึง อเมริกา ศรีลังกา และออสเตรเลีย
SME D Bank ช่วยต่อเนื่อง ออกมาตรการ “พักหนี้อุ่นใจ เติมเงินใหม่ไปต่อ” ดูแลเอสเอ็มอีไทย ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ระลอกใหม่ ให้สิทธิลูกค้าเดิมพักชำระหนี้เงินต้น 6 เดือน พร้อมเติมเงินเสริมสภาพคล่อง ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน