สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง และกินระยะเวลามายาวนานร่วม 3 ปี ซึ่งที่ผ่านมาเราก็ได้เห็นผู้ประกอบการ SME หลายรายยืนหยัดท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงนี้ได้ บทเรียนเหล่านั้นนับเป็นองค์ความรู้ ถือเป็น “วัคซีน” สำคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจในการปรับตัวได้ ลองไปดูวิธีปรับตัวเหล่านั้นกัน
วันนี้ขอหยิบยกประเด็นเรื่องราวของ Web 3.0 มาพูดคุยแลกเปลี่ยนกันครับ ว่ามีจุดเริ่มต้นอย่างไร แตกต่างกันอย่างไร มีความท้าทายใดต่อ SME บ้าง
เทรนด์สินค้าไม่จำกัดเพศอาจจะมีมานานแล้ว ดังจะเห็นได้จากแฟชั่นเสื้อผ้าจำนวนมากที่ออกแบบให้สวมใส่ได้ทั้งชายและหญิง ซึ่งช่วงหลัง ๆ เทรนด์นี้ได้ขยายไปยังตลาดเครื่องสำอาง
วันนี้ถ้าบอกว่ามีคนไลฟ์ขายเสื้อผ้าได้วันละเป็นพันตัวคงเป็นเรื่องปกติ แต่ถ้าย้อนไปเมื่อ 4 ปีก่อน ในยุคที่เฟซบุ๊กเพิ่งเริ่มมีฟังก์ชันไลฟ์ (Live) ร้านขายผ้าไทยในเมืองน่านที่ชื่อ “น่านบุรี” เคยไลฟ์ขายผ้าแฮนด์เมดได้ถึงวันละกว่า 600 ตัว
การประยุกต์ใช้ Data ให้เหมาะกับสไตล์ SMEต้องเริ่มจากมุมมองที่ต่างจากรายใหญ่ ผู้ประกอบการ SME ต้องไม่แข่งที่ความเยอะ (Big) แต่ต้องแข่งที่ความแม่น (Smart) ของข้อมูลที่มี
การทำตัวให้อยู่ในกระแส รู้ทันเทรนด์ เข้าถึงผู้บริโภครุ่นใหม่ๆ และใช้เทคโนโลยีให้คล่องแคล่ว อาจเป็นเรื่องยาก แต่ถ้ามี “แก๊งเสื้อยืด” หรือกลุ่มคนทำงานรุ่นใหม่อยู่ในองค์กรด้วยแล้วล่ะก็ จากจุดอ่อนจะกลายเป็น “แต้มต่อ” ของธุรกิจขึ้นมาได้
“เลอรส” ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ – ข้าวหมูกรอบหมูแดง ย่านจรัญสนิทวงศ์ 13 ที่แม้จะเปิดตัวได้ไม่นานแต่ก็มีลูกค้าแน่นร้านตลอด เพราะนอกจากจะเปิดหน้าร้านขายอาหารให้กับลูกค้าตามปกติแล้วก็ยังเปิดคอร์สสอนทำอาหารจากสูตรลับก้นครัวให้กับคนอยากมีอาชีพอีกด้วย!
"Whip Me" ร้านเครปเย็นจากนนทบุรีที่เพิ่งกลายเป็นกระแสไวรัลเล็กๆ ให้ผู้คนเข้ามารีทวิตกันมากกว่าห้าหมื่นครั้ง จากแคปชันกวนๆ ทำให้ลูกค้าแม้ไม่เคยมาที่หน้าร้าน ไม่เคยได้เห็นสินค้าจริง ก็สามารถตัดสินใจซื้อและเป็นลูกค้าได้ไม่ยาก
ทำไมแบรนด์เก่าแก่ถึงเริ่มล้มหายตายจาก ร้านที่เคยโด่งดังในอดีต วันนี้กลับร้างไร้ผู้คน และค่อยๆ ทยอยปิดตัวลงอย่างง่ายๆ แล้วอะไรคือ Game Changer ของ SME ยุคใหม่ มาฟังคำตอบจาก “ชาคริต เทียบเธียรรัตน์” MD คนใหม่แห่งเซ็นทรัลแล็บไทยกัน
ทายาทแอร์ออร์คิดส์รุ่นที่ 3 คือตัวอย่างของ SME ที่พยายามตั้งสติ เมื่อประตูการส่งออกถูกปิดตายเพราะ โควิด-19 ก็เลือกที่จะเปิดประตูบานใหม่ๆ คือ ขายกล้วยไม้ออนไลน์เดลิเวอรีให้กับลูกค้าในประเทศ เพื่อสร้างรายได้เข้ามาชดเชยส่วนที่เสียไป
ติดตามเรื่องราวของ 3 ตัวแม่นักธุรกิจ “เจ๊จง-จงใจ กิจแสวง” แห่งหมูทอดเจ๊จง “เจ๊ง้อ-ณชนก แซ่อึ้ง” ผู้ก่อตั้ง ครัวเจ๊ง้อ และ “เจ๊เช็ง-กรภัคร์ มีสิทธิตา” แห่ง ฟาสเทคโน ผู้ผ่านชีวิตและการต่อสู้มาอย่างสาหัส แต่พวกเธอฟันฝ่ามันมาได้ ด้วยยาใจที่ชื่อ “ลูก”
Mini Rice Cracker เป็นแบรนด์ SME ที่ส่งออกไปยัง 7 ประเทศได้ภายในระยะเวลาเพียงครึ่งปี วางขายในซูเปอร์มาร์เก็ตชั้นนำเคียงข้างแบรนด์ระดับโลก และสร้างรายได้สูงถึงเดือนละหลักล้านบาท