เพื่อเรียกความนิยมให้กลับคืนมา เฟซบุ๊ก ไอจี ทวิตเตอร์กลับมาคึกคักได้อีกครั้งหนึ่งและเข้ากับสถานการณ์ช่วงนี้เป็นที่สุด วันนี้เราจึงรวบรวมแคปชั่นสุดฮิตเกี่ยวกับไวรัสโควิด-19 ให้ลองเอาไปปรับใช้เป็นลูกเล่นเพื่อสื่อสารไปยังกลุ่มลูกค้าได้เชียล เพื่อให้อ่านแล้วอารมณ์ดี
ข้าวขาหมู พ.4 ร้านข้าวขาหมูในตำนานย่านดินแดง โควิดระลอกแรกพวกเขาส่ง “ขาหมูสู้ Covid” ขาหมูพร้อมรับประทานที่สามารถเก็บได้นานโดยรสชาติไม่เปลี่ยน และโควิดระลอกนี้ พวกเขาแจ้งเกิดนวัตกรรมใหม่ โดยไม่ต้องลงทุนเพิ่ม แต่ใช้ต้นทุนเดิมที่มีพลิกวิกฤต
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาโควิด-19 ระลอก 3 ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจและธุรกิจให้ตกต่ำลง หน่วยจากภาครัฐ สถาบันการเงินต่างๆ จึงเร่งออกมาตรการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการ SME
พฤติกรรมหลายอย่างของผู้บริโภค แปรเปลี่ยนไปเพราะโควิด หนึ่งในความเปลี่ยนแปลงที่ว่าคือ “Customer Journey” ที่ส่งผลต่อ “ซูเปอร์มาร์เก็ต” แหล่งช้อปสินค้าซึ่งเคยเป็นหมุดหมายของผู้คน ในยุคที่ยังไม่มีวิกฤตไวรัส
นักธุรกิจจีนมองไทยเป็นประเทศที่น่าสนใจเข้ามาลงทุนในระยะ 1-2 ปีข้างหน้า ปรับโครงสร้างการลงทุนในไทยจากอุตสาหกรรมที่ใช้เงินลงทุนสูง สู่การลงทุนขนาดเล็กลง มุ่งเจาะภาคอุตสาหกรรมบริการ และเทคโนโลยี
ทีเอ็มบีและธนชาต สนับสนุนเอสเอ็มอีให้เติบโตอย่างมั่นคง ส่งสินเชื่อเจาะกลุ่มเอสเอ็มอีที่เป็นบุคคลธรรมดา ด้วย “สินเชื่อ SME ไม่มีสะดุด” (SME So Smooth) และ “สินเชื่อ SME ก้าวกระโดด” (SME Step Up) รองรับธุรกิจที่ต้องการเงินทุนก้อนใหญ่ขึ้น
“CLASS Café” เป็น SME ที่เติบโตด้วยวิธีคิดแบบ Startup โดยลงทุนขยายสาขาอย่างรวดเร็ว แต่วิกฤตโควิด-19 ที่โหมกระหน่ำทั่วโลก ทำให้พวกเขาต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแกร่ง แบบที่หากเจอเรื่องไม่คาดฝันในอนาคต ธุรกิจก็จะยังสามารถคงอยู่ต่อไปได้
วัฒนธรรมการทำงานรูปแบบใหม่ถือกำเนิดขึ้นแล้ว เมื่อโลกมาถึงจุดเปลี่ยน งานประเภทเข้า 9 โมงเช้า เลิก 5 โมงเย็น สัปดาห์ละ 5 วัน อาจไม่มีอีกต่อไป การที่เราสามารถทำงานจากที่บ้านได้มากขึ้น ส่งผลต่อทัศนคติของผู้คนที่มีต่อวัฒนธรรมการทำงานในอนาคต
สถานการณ์โควิด-19 ในไทยกำลังคลี่คลาย เรากลับมาดำเนินชีวิตกันได้ปกติ ธุรกิจได้ผ่านช่วงเวลาที่หนักหนาที่สุดกลับเปิดให้บริการเต็มรูปแบบเสียที แต่ผลกระทบที่ผ่านมาสร้างบาดแผลให้กับธุรกิจไม่น้อย นี่คือ 5 สิ่งที่ SME ต้องคิดเพื่อก้าวต่อไปอย่างแข็งแกร่ง
การระบาดของไวรัสโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อทุกธุรกิจ รวมถึงผู้ประกอบการในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ ที่ต้องปรับกลยุทธ์เพื่อการอยู่รอดในยุคที่กระเป๋าตังค์ของผู้บริโภคเบาบางลง มีการคาดกันว่าวิถี New Normal จะเข้ามาเป็นปัจจัยการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในอนาคต
“Above the Ocean Strategy (AOS)” หรือ “กลยุทธ์เหนือน่านน้ำ” คือตัวช่วยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ ช่วยให้ธุรกิจเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นว่า หลังจาก COVID-19 พวกเขาต้องปรับเปลี่ยนตัวเองอย่างไร เพื่อก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
หลังจากมีมาตรการปิดเมืองเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID-19 ตั้งแต่เดือนมีนาคม จำนวนผู้ติดเชื้อเริ่มเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลงในหลายประเทศ ทำให้ภาครัฐเริ่มกลับมาเปิดเมืองอีกครั้งในช่วงเดือนพฤษภาคม มาตรการปิดเมือง ส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและภาวะวิ่งเข้าหาเงิ..