ในวันที่คำว่า Digital Transformation หรือการเปลี่ยนองค์กรเป็นดิจิทัลถูกใช้กันเกลื่อนเกร่อ แต่ดูเหมือนว่าน้อยรายนักที่จะทำแล้วประสบความสำเร็จ แล้ว SME จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมาทรานส์ฟอร์มองค์กรให้เป็นดิจิทัล
เชฟมอนด์-สุวิจักขณ์ กังแฮ เชฟกระทะเหล็ก สร้างสรรค์อาหารในร้าน MIZULIM เน้นการใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นบอกเล่าเรื่องราวของวัฒนธรรมภูเก็ตผ่านอาหารจนเป็นเอกลักษณ์ถึงตอนนี้มีคิวจองยาวไปถึงปีหน้าแม้ภาพรวมของเศรษฐกิจภูเก็ตจะค่อนข้างซบเซา
ก่อนจะฝันไปไกลและต้องตกม้าตายกลางทาง ต้อง “ดึงสติ” ให้หลุดจากโรคหลงตัวเองเพื่อเผชิญหน้าความจริงที่ว่า เริ่มต้นธุรกิจแบบไหนก็เจ๊งได้ถ้าไม่เข้าใจปัญหาของลูกค้า
จากคำเคยกล่าว “ปู่สร้าง พ่อขยาย ลูกหลานทำเจ๊ง” ธุรกิจอยู่ได้ไม่เกิน 3 รุ่น วันนี้อายุไขธุรกิจอาจสั้นไปกว่านั้น ทำอย่างไรธุรกิจครอบครัวถึงจะยังคงอยู่ และแข็งแกร่งเหนือความเปลี่ยนแปลงและสภาวะวิกฤต
ในเดือนกันยายนที่ผ่านมา เราคงพอเห็นสัญญานบวกบางอย่างในกลุ่มสินค้าส่งออก ที่เริ่มกลับมาขยายตัวได้ บ้างแล้ว โดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมอุปโภคบริโภคเป็นหลัก
การทำตัวให้อยู่ในกระแส รู้ทันเทรนด์ เข้าถึงผู้บริโภครุ่นใหม่ๆ และใช้เทคโนโลยีให้คล่องแคล่ว อาจเป็นเรื่องยาก แต่ถ้ามี “แก๊งเสื้อยืด” หรือกลุ่มคนทำงานรุ่นใหม่อยู่ในองค์กรด้วยแล้วล่ะก็ จากจุดอ่อนจะกลายเป็น “แต้มต่อ” ของธุรกิจขึ้นมาได้
จากประสบการณ์ในฐานะที่ปรึกษาด้านการพัฒนาคน ผนวกกับข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยของหลายสถาบันพบว่า ปัญหามาจาก “หัวหน้า” เพราะบกพร่องในการทำหน้าที่ อย่างน้อยข้อใดข้อหนึ่งใน 3 ข้อต่อไปนี้
หลังจากวิกฤตโควิด-19 ในประเทศไทยเริ่มผ่อนคลาย หลายๆ ธุรกิจจึงเริ่มกลับมาเปิดให้บริการได้อีกครั้ง หนึ่งในนั้นก็คือธุรกิจโรงแรม หลังจากที่โรงแรมได้ปรับมาตรฐานการให้บริการรับ New Normal ด้านพฤติกรรมการเข้าพักของแขกโดยเฉพาะในด้านสุขอนามัย เป็นเรื่องของ “การสื่อสาร” ในสิ่งที่โรงแรมไ..
ใครที่เคยมีภาพจำว่า การทำไอศกรีมด้วยตัวเองจะเป็นเรื่องยุ่งยาก แถมยังต้องใช้อุปกรณ์เว่อวังมากมาย อาจจะต้องเปลี่ยนใจ ถ้าได้รู้จักกับ “แฮปปี้พลัส” (HAPPY PLUS) ไอศกรีมผงกึ่งสำเร็จรูป ที่สามารถทำเองได้ง่ายๆ
จากร้านชื่อดังของปาย “ลาบขม ห้วยปู” ร้านอาหารเหนือที่ดำเนินธุรกิจมายาวนานกว่า 18 ปี วันนี้ได้ต่อยอดธุรกิจให้ก้าวไปอีกขั้น ด้วยการแตกไลน์เครื่องพริกแกงสำเร็จรูปสูตรประจำร้าน ที่ไม่ว่าอยู่ที่ไหน ก็สามารถลิ้มรสความอร่อยได้
แม้จะแตกต่างจากกิจการทั่วไป แต่ในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 เหล่าธุรกิจเพื่อสังคมก็ได้รับผลกระทบที่หนักหน่วงไม่ต่างกัน ทำอย่างไรถึงจะข้ามผ่านวิกฤตและไปต่อได้ในโลกยุค Never Normal มาฟังคำตอบและทางออกจากกูรูนักการตลาดกัน
ทายาทแอร์ออร์คิดส์รุ่นที่ 3 คือตัวอย่างของ SME ที่พยายามตั้งสติ เมื่อประตูการส่งออกถูกปิดตายเพราะ โควิด-19 ก็เลือกที่จะเปิดประตูบานใหม่ๆ คือ ขายกล้วยไม้ออนไลน์เดลิเวอรีให้กับลูกค้าในประเทศ เพื่อสร้างรายได้เข้ามาชดเชยส่วนที่เสียไป