การช้อปปิงออนไลน์ไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป โดยเฉพาะเมื่อเราเผชิญกับสถานการณ์โรคระบาดยิ่งทำให้อี-คอมเมิร์ซเติบโต ซึ่งวิธีที่จะเข้าสู่สนามตลาดออนไลน์ได้เร็ว ง่าย และไม่มีค่าใช้จ่าย ก็คือ ใช้โซเชียลมีเดียนี่เอง
"OverBrew Specialty Coffee" ร้านกาแฟเล็กๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ที่ปรับตัวแก้วิกฤตด้วยการจำหน่าย "Cold Brew Bucket" หรือชุดทำกาแฟสกัดเย็นทำกินเองที่บ้านได้ง่ายๆ จากคิดหารายได้เพิ่ม กลายเป็นสร้างรายได้หลักนับแสนต่อเดือนให้ธุรกิจ
ไม่ว่าจะอุตสาหกรรมไหนก็ต้องปรับตัวเพื่ออยู่รอดและไปต่อด้วยกันทั้งนั้น เช่นเดียวกับ อุตสาหกรรมด้านการออกแบบ สำหรับ 3 นักออกแบบระดับมือรางวัล พวกเขามี “วิธีคิด” และ “ทำ” ที่น่าสนใจ ในการรับมือกับวิกฤต เพื่อเอาตัวรอดและเติบโตในยุค Next Normal
ธุรกิจดาวเด่นในช่วงเดือนเมษายน 2564 ที่ผ่านมา พบหนึ่งโอกาสธุรกิจหอมหวาน ที่สำคัญแม้แต่ SME ไซส์เล็กก็มีโอกาสทำกำไรได้กว่าครึ่ง นั่นคือ “ธุรกิจขายปลีก-ส่ง สินค้าทางเภสัชภัณฑ์และการแพทย์”
เป็นอีกธุรกิจที่มีโอกาสซ่อนอยู่อย่างน่าสนใจ สำหรับธุรกิจขนย้ายบ้านชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศไทย (Expat) หนึ่งในนั้นคือ United Service Phuket (USP) ซึ่งเริ่มให้บริการที่ภูเก็ตนี่เอง จนกระทั่งปัจจุบันมีสาขาทั้งในภูเก็ตและกรุงเทพฯ และให้บริการขนย้ายไปทั่วโลก
แม้ว่าใน 1 - 2 ปีมานี้อาจไม่คึกคักเหมือนเก่าเพราะด้วยสถานการณ์จากโรคระบาดก็ตาม แต่อย่างไรเสียก็ยังคงมีสินค้าขายดีที่เป็นไอเทมฮอตฮิตตลอดกาลประจำฤดูร้อนและสงกรานต์ออกมาวางจำหน่ายตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
ธุรกิจโรงแรมเริ่มมีสัญญาณ Oversupply มาตั้งแต่ก่อนโควิด-19 ด้วยซ้ำ โดยเฉพาะโรงแรมขนาดกลางและประหยัด ยิ่งมาถูกซ้ำเติมด้วยพิษโควิด สถานการณ์ก็ยิ่งรุนแรงขึ้น จนนำไปสู่ปัญหาผิดนัดชำระหนี้ และมีสัดส่วนหนี้เสียเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ช่วงต้นปี 2020
การลงทุนด้านดิจิทัล เครื่องมือไอทีต่าง ๆ มีความสำคัญต่อธุรกิจทุกวันนี้อย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 หลายธุรกิจต้องทรานฟอร์มตัวเองเพื่อเอาตัวรอด แล้วการลงทุนดิจิทัลด้านไหนล่ะถึงจะตอบโจทย์เป็นตัวช่วยให้ธุรกิจได้
หลังโควิดเศรษฐกิจและการค้าโลกจะเปลี่ยนไป ทั้งการใช้ระบบอัตโนมัติต่างๆ มาทดแทนแรงงานคน การย้ายฐานการผลิตกลับประเทศต้นทาง ตลอดจนการใช้นโยบายการเงินแบบรูปแบบใหม่ของธนาคารกลาง ฉะนั้นต้องปรับตัวให้ทันใน 3 เรื่องหลักต่อไปนี้
ย้อนกลับไปในวันที่ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิต Plant-based กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ทำงานด้านการออกแบบนวัตกรรม เกิดไอเดียที่จะทำร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในคอนเซปต์ Plant-based Thai Street Food ขึ้น โดยใช้เนื้อจากพืชมาปรุงเป็นอาหารรสแซ่บสไตล์สตรีทฟู้ดแบบไทยๆ
วันแรกที่มะเขือเทศ Take Me Home วางขายในตลาดขายส่งผัก-ผลไม้เมืองเชียงใหม่ ทำยอดขายไปได้ทั้งสิ้น “0 บาท!” ผ่านมา 15 ปี มะเขือเทศที่คนเมินใส่ในวันแรก เติบใหญ่กลายเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายมะเขือเทศสดในระบบไฮโดรโปนิกส์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
8 ปีก่อน แบรนด์สินค้าสุขภาพเล็กๆ ชื่อ “ฮัก” (Hug) ถือกำเนิดขึ้น วันนี้เติบโตเป็นแบรนด์ที่รักของทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ วางจำหน่ายในร้านสุขภาพชื่อดัง ห้างสรรพสินค้าชั้นนำ โรงแรม รีสอร์ต ตลอดจนช่องทางออนไลน์ และยังไปทำตลาดอยู่ในหลายประเทศ