เศรษฐกิจไทยปี 2564 มีแนวโน้มฟื้นตัวจากภาคการส่งออกตามการเติบโตของเศรษฐกิจโลก แต่ปัจจัยเสี่ยงของปีหน้าก็คือตัวแปรสำคัญที่กระทบภาคการค้าระหว่างประเทศ นั่นคือ ค่าเงินบาทที่มีทิศทางแข็งค่าเทียบดอลลาร์สหรัฐฯ
ธนาคารกรุงศรีอยุธยาเล็งเห็นถึงศักยภาพการเติบโตของทั้งธุรกิจไทย และ สปป.ลาว จึงจับมือกับ ธนาคาร Lao Development Bank (LDB) เปิดบริการ Krungsri-LDB Global Transfer ให้ผู้ประกอบการโอนเงินระหว่างประเทศได้แบบเรียลไทม์
หลายคนมองว่าการที่หลายอุตสาหกรรมแทบจะทั่วโลกทยอยปิดตัวลงจนก่อให้เกิดแรงกระเพื่อมที่นำไปสู่การล้มเป็นโดมิโนของธุรกิจต่างๆ มาจากการระบาดของโควิด-19 แต่ความจริงแล้ว การปิดตัวของธุรกิจค้าปลีกเริ่มต้นเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว
“I Love Flower Farm” ธุรกิจสวนดอกไม้สำหรับสายเที่ยวชอบถ่ายรูป ท่ามกลางความสวยงามที่เห็น มีแง่งามดีๆ ซ่อนอยู่เบื้องหลัง และมีคุณค่ามากไปกว่าแค่เรื่องของธุรกิจ เพราะนี่คือโมเดลเพื่อชุมชน ที่คิดโดย Young Smart Farmer ลูกหลานคนทำไม้ตัดดอกขาย
การยึดมั่นในความซื่อสัตย์และความจริงใจผสานกับแนวคิดของคนรุ่นใหม่ กำลังทำให้จังสุ่ยศิลป์เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น โดยใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ (social Network) บวกกับความชอบด้านการถ่ายรูป เป็นกลยุทธ์เพื่อขยายตลาด
“สุภาฟาร์มผึ้ง” (SUPHA BEE FARM) คือธุรกิจของครอบครัวคนเลี้ยงผึ้ง วันที่ทายาทเข้ามาสานต่อ ธุรกิจเล็กๆ ขยายมามีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ขยับจากกิจการหลักสิบล้านบาท กำลังทะยานสู่ธุรกิจร้อยล้าน และเตรียมเดินหน้าสู่บริษัทมหาชน
“เบนซ์-ศรัณย์ เกียรติเทพขจร” เจ้าของช่อง DBigbike ทายาทรุ่น 2 ของ “ดีเจริญยนต์” ธุรกิจที่เริ่มจากซื้อ-ขายรถยนต์และจักรยานยนต์มือสอง จนวันนี้กลายเป็นอาณาจักรของคนรักบิ๊กไบค์ที่ประสบความสำเร็จทั้งในโลกออนไลน์และออฟไลน์
การปรับตัวเองไปสู่ร้านหนังสือออนไลน์ ขายสินค้าที่เป็น E-Book เพื่อรับนักอ่านยุคดิจิทัลก็เป็นอีกโมเดลหนึ่ง แต่ทราบไหมว่า แม้แต่การขายหนังสือดิจิทัลให้กับผู้บริโภควันนี้ก็ต้องทำอย่างมีกลยุทธ์
สิ่งที่ SME จะต้องเตรียมรับมือ คือในปีหน้าเศรษฐกิจไทยอาจจะยังฟื้นตัวอย่างช้าๆ จากหลายปัจจัยที่เข้ามากดดัน โดยเฉพาะ “แผลเป็นทางเศรษฐกิจ” (Scarring Effects) ทั้ง 3 อย่างนี้
“Lanar House” ร้านเค้กช็อกโกแลตหน้านิ่มที่เปิดขายมานาน 20 กว่าปี จนปัจจุบันสามารถผลิตช็อกโกแลตใช้เองได้ รวมถึงคิดค้นนวัตกรรมยืดอายุการเก็บรักษาออกไปได้นานกว่า 1 ปี
เมื่อปีที่แล้ว ณปภัช วรปัญญาสถิต ยังเป็นมาสเตอร์แฟรนไชส์ นำเข้าแบรนด์ชานมไข่มุกราคา 19 บาทในประเทศไทยไปขายในประเทศกัมพูชา แต่ปีนี้เธอเป็นเจ้าของแฟรนไชส์ชาไข่มุก Am Tea ที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในทั้ง 2 ประเทศ
เพราะวิกฤตโควิด-19 เอเชี่ยน พลัส ทราเวล แอนด์ เซอร์วิส กลับใช้โอกาสนี้มาปฏิวัติตัวเองด้วยโมเดลธุรกิจใหม่ และใช้เวลาแค่ 3 เดือน สามารถแจ้งเกิดทัวร์ของเพศทางเลือก และพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อการท่องเที่ยวสำหรับเพศทางเลือกเป็นรายแรกของไทยได้สำเร็จ