5 แบรนด์ดังในตำนานที่ไม่ว่าไปที่ไหนก็มีให้เห็นอยู่ตลอด เห็นขายกันชามละไม่กี่สิบบาทอย่างนี้ แต่กลับทำรายได้ให้กับแบรนด์ได้เป็นปีละหลายล้านบาททีเดียว ซึ่งบางแบรนด์อาจก้าวกระโดดขึ้นไปหลักพันล้านเลยก็ว่าได้
“อุตสาหกรรมการผลิต การค้า และการท่องเที่ยว” มีความเปราะบางมาตั้งแต่ก่อนวิกฤต โดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก หรือ SME แล้วอะไรล่ะคือสาเหตุ? มาหาคำตอบไปพร้อมกัน
ในขณะนี้หลายตลาดก็เริ่มขยายตัวต่อเนื่องได้ดีขึ้น โดยเฉพาะกับ 6 กลุ่มประเทศ ได้แก่ สหรัฐฯ จีน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง และ CLMV มีสัญญาณฟื้นตัวได้ดีขึ้น เป็น 6 ดาวเด่นตลาดส่งออก 2564
อดีตเด็กนอกที่ไปเรียนและทำงานอยู่ประเทศอังกฤษมาประมาณ 7 ปี วันนี้เธอกลับบ้านเกิดที่ จ.พัทลุง เพื่อต่อยอดธุรกิจผลิตกะปิของครอบครัวที่ทำมาหลายสิบปี สู่นวัตกรรมซอสกะปิและน้ำปลาหวาน ในชื่อแบรนด์ “เคยนิคะ”
ในห้วงเวลาที่ประเทศไทย ยังเผชิญหน้ากับสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 กลายเป็นความท้าทายของผู้นำคนใหม่ของ สสว. ที่จะวางนโยบายและแนวทางในการขับเคลื่อน SME ไปในทิศทางไหน เพื่อให้ก้าวผ่านวิกฤต และมีโอกาสเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต
ถ้าวันหนึ่งพนักงานในองค์กรของเราติดโควิด เราจะรับมือกับเหตุการณ์นี้อย่างไร? สำหรับ “ศุภรัตน์ โชติสกุลรัตน์” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด (UAE) รับมือกับเรื่องนี้ด้วยการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส
ทุกวันนี้ธุรกิจ Food Delivery ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อร้านค้าต่าง ๆ จำนวนมาก แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าด้วยค่า GP ที่สูงลิ่วกว่า 30 – 35 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ไม่สามารถทำกำไรได้ วันนี้แบรนด์เดลิเวอรีท้องถิ่นสัญชาติไทยจึงมีเกิดขึ้นมากมาย เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้ประกอบการ
เห็นชื่อคล้ายฝรั่ง! แต่จริงๆ แล้ว ทิฟฟี่ คือ ยาบรรเทาอาการแก้ไข้ แก้ปวด และเป็นหวัดที่ผลิตขึ้นมาโดยคนไทยร้อยเปอร์เซ็นต์นะ โดยที่มาของชื่อ ทิฟฟี่ นั้นมาจากเสียงของคนเวลาเป็นหวัด ซึ่งมักจะส่งเสียงอู้อี้พูดไม่ชัดนั่นเอง
ในตลาดโลกเทรนด์ Plant-based Food กลุ่มอาหารที่ทำมาจากพืชที่ให้โปรตีนสูงถูกพูดถึงมาแล้วช่วงหนึ่ง ถามว่าแล้วประเทศไทยล่ะ เทรนด์ Plant-based Food มาหรือยัง แล้วเป็นโอกาสและความหวังจริงไหมในปี 2564
วิกฤตโควิด-19 ทำให้หลายธุรกิจต้องหยุดชะงัก แต่ “สมุนไพรวังพรม” ยาหม่องสมุนไพรไทยจาก จ.นครปฐม กลับยังประคับประคองตัวเอง จนสามารถผ่านวิกฤตมาได้ และมียอดขายในประเทศเติบโตขึ้น 50 เปอร์เซ็นต์ แถมยังขยับเป็นแบรนด์อันดับ 1 ในสปป.ลาว
จากการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับฟาร์มจิ้งหรีด และมองเห็นเทรนด์การบริโภค “โปรตีนทางเลือก” ที่ความนิยมเติบโตไปทั่วโลกนั้น เป็นจุดตัดสินใจทำให้เมื่อ 5 ปีก่อน “นนทวัฒน์ บางเอี่ยม” ผันตัวเองจากนักวิจัยมาเป็นเจ้าของกิจการฟาร์มจิ้งหรีด
แม้ไม่มีวิกฤตโควิด-19 แต่ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรมในบ้านเรา นับว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก โดยพฤติกรรมของผู้คนแปรเปลี่ยน คนไม่จงรักภักดีในแบรนด์ เบื่อความซ้ำซาก ส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมอายุสั้นลงกว่าเดิมมาก