ในสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 หลายอุตสาหกรรมต้องเผชิญกับวิกฤต แต่อุตสาหกรรมอาหารกลับได้รับอานิสงส์ ทว่าความหอมหวานนี้จะยั่งยืนแค่ไหน หลังจากนี้ต้องปรับเกมรุกอย่างไร อุตสาหกรรมอาหารไทยถึงจะกลับมาแข็งแกร่งได้ในตลาดโลก
“Above the Ocean Strategy (AOS)” หรือ “กลยุทธ์เหนือน่านน้ำ” คือตัวช่วยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ ช่วยให้ธุรกิจเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นว่า หลังจาก COVID-19 พวกเขาต้องปรับเปลี่ยนตัวเองอย่างไร เพื่อก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
พวกเขาไม่ใช่แค่ดารานักแสดง แต่ยังเป็นผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม ที่เจอกับพิษโควิด-19 เหมือนกับทุกคน การยอมรับสถานการณ์และปรับตัวรับมือคือหนทางเดียวที่จะทำให้หลุดพ้นจากวิกฤตครั้งนี้ไปได้ มาดูกันว่าพวกเขาทำอย่างไร เพื่อไปต่อในยุค New Normal
ทุกคนรู้ดีว่าคนที่มีความสุขมักจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า และอยู่กับองค์กรได้นานกว่า ซึ่งรอยยิ้มของพนักงานจึงส่งผลถึงรอยยิ้มของผู้ประกอบการด้วยเหมือนกัน
“Jo+แซ่บ” โปรเจกต์ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือเฉพาะกิจ ที่ปรับเปลี่ยนรูปแบบมาจากร้านคราฟต์เบียร์เล็กๆ แห่งหนึ่งในอำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ที่ต้องปรับรูปแบบการทำธุรกิจใหม่ เนื่องจากกิจการหลักต้องปิดตัวลงชั่วคราว
“ดอกบัวคู่” ยาสีฟันสมุนไพรสีกาแฟที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นจุดด้อยอยู่ในตลาด เพราะสีที่แตกต่าง ไม่เหมือนใคร จนไม่มีใครกล้าทดลองใช้ แต่ผ่านมา 43 ปี วันนี้สามารถพลิกขึ้นมาเป็นเบอร์ 1 ตลาดยาสีฟันสมุนไพรไทยได้
ศิริวัฒน์ วรเวทคุณวุฒิคุณ เจ้าของศิริวัฒน์แซนด์วิช จากคนเคยรวย เป็นมนุษย์ทองคำ เจอวิกฤตต้มยำกุ้งจนกลายเป็นบุคคลล้มละลาย เมื่อเจอวิกฤตไวรัสโควิด-19 เขาเรียนรู้และปรับตัวอย่างไร? ไปหาคำตอบเรื่องนี้กัน
การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีแนวโน้มซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับวิถีชีวิต New Normal เป็นปัจจัยให้บริการขนส่งสินค้าแบบ Last-mile Delivery รวมถึงธุรกิจบรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่งถึงมือผู้บริโภคขยายตัวตามไปด้วย
องค์กรที่อยากซื้อใจพวกเขาให้อยู่กับคุณไปนานๆ บางทีก็ต้องมีสิ่งที่ว้าวกว่าองค์กรอื่น และหนึ่งในนั้นคือสภาพแวดล้อมในการทำงาน ยิ่งดูดี มีสเปซเยอะ มี Play Zone มีครัวกลาง มีพื้นที่ผ่อนคลายไปจนถึงสร้างบรรยากาศการทำงานให้เหมือนอยู่ในคาเฟ่ก็ยิ่งดีเข้าไปใหญ่
ในโลกธุรกิจใครเริ่มก่อนมักได้เปรียบ เพราะนั่นเท่ากับก้าวนำคู่แข่งไปแล้วก้าวหนึ่ง แต่โดยส่วนใหญ่ไอเดียธุรกิจที่ผุดขึ้นมาในหัวมักมีคนเริ่มทำไปก่อนแล้วทั้งนั้น ซึ่งบางครั้งการเป็นผู้ตามก็พลิกกลับมาเป็นความได้เปรียบได้เหมือนกัน
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) สร้างนวัตกรรมใหม่อย่างบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะที่สามารถบ่งชี้ความปลอดภัยของปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในลำไยได้สำเร็จทำให้ผู้บริโภคได้รับรู้ถึงความปลอดภัยก่อนรับประทาน
“ช่างตัดผม” หนึ่งในอาชีพที่มีผู้คนคิดถึงมากที่สุดในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา เพราะต้องปิดตัวลงชั่วคราว มาในวันนี้ธุรกิจสามารถกลับมาเปิดดำเนินการได้อีกครั้งหนึ่ง แต่ด้วยมาตรการป้องกันความเสี่ยงต่างๆ ทำให้การเข้าร้านตัดผมร้านหนึ่งในวันนี้ ไม่ใช่รูปแบบเดิมที่เราเคยได้รู้จักอีกต่อไป