ธนาคารไทยพาณิชย์ เดินหน้าช่วยผู้ประกอบการท่องเที่ยว ฝ่าวิกฤตโควิด-19 จับมือ ททท. และ สทท. เปิดแพลตฟอร์มออนไลน์ www.SCBShopDeal.com รวมดีลเพื่อคนชอบเที่ยว ปลุกตลาดท่องเที่ยวไทยและ SME ให้สามารถปั๊มยอดขายได้ในช่วงวิกฤต
มาตรการภาครัฐเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทั้งมาตรการ Lockdown และการรณรงค์ด้าน Social Distancing มีผลกระทบโดยตรงต่อภาคธุรกิจและการจ้างงาน ซึ่งกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ เป็นการจ้างงานในธุรกิจ SME ที่มีความเปราะบางกว่าธุรกิจขนาดใหญ่
เมื่อสถานการณ์โควิดกำลังส่งผลกระทบต่อทุกคนบนโลกใบนี้ สิ่งที่จะเปลี่ยนไปอย่างแน่นอนนั่นคือพฤติกรรมของผู้บริโภค พวกเขาจะระมัดระวังในการใช้จ่ายมากขึ้น กังวลเรื่องของอนาคตมากขึ้น นี่เป็นโจทย์สำคัญของแบรนด์ที่ต้องคิดให้ออกว่าจะทำอย่างไร!
TMB Analytics เผยแพ็กเกจมาตรการเยียวยาผลกระทบโควิดชุดใหญ่เม็ดเงินกว่า 1 ล้านล้านบาท ช่วยยืดเงินใช้จ่ายของลูกจ้างที่มีอยู่เป็น 8 เดือน ธุรกิจมีสภาพคล่องหมุนเวียนอยู่ได้เพิ่มจาก 3 เดือน เป็น 5 เดือน สามารถประคองการจ้างงาน พร้อมจะฟื้นตัวได้หลังวิกฤต
KKP Research ปรับประมาณการอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจจาก -2.4 เปอร์เซ็นต์ เป็นลงลึกถึง –6.8 เปอร์เซ็นต์ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่มีความรุนแรงขึ้นกว่าเดิม และมาตรการควบคุมที่เข้มงวดขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หดตัวลึกและยาวนานยิ่งขึ..
สถานการณ์ไวรัสโควิด-19 กระทบต่อภาคธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะธุรกิจค้าปลีกและร้านอาหารที่รายได้ส่วนใหญ่มาจากการขายหน้าร้านเป็นหลัก หนึ่งในการปรับตัวเพื่อประคับประคองธุรกิจคือ การเพิ่มช่องทางการขายทางออนไลน์มากขึ้นนั่นเอง
ร้านอาหารคือธุรกิจที่กำลังปรับตัวอย่างหนักเพื่อต่อสู้กับสถานการณ์ไวรัสในปัจจุบัน แถมตอนนี้ยังห้ามลูกค้านั่งรับประทานที่ร้านอีกด้วย นอกจากการปรับไปเป็นเดลิเวอรีแล้ว อีกหนึ่งไอเดียเจ๋งๆ คือการออกชุดทำอาหารกึ่งสำเร็จรูปหรือ DIY Kit ฉีกซองแล้วทำตามขั้นตอนก็ทานได้ทันที และนี่คือไอเด..
"เขียง” คือร้านอาหารตามสั่งในเครือ เซ็น คอร์ปอเรชั่น กรุ๊ป หนึ่งในกลุ่มอาหารไทย ที่มีแบรนด์พี่น้องคือ ตำมั่ว ลาวญวน แจ่วฮ้อน และเฝอ ฯลฯ ปีที่ผ่านมาเขียงเปิดสาขาแรก และขยายตัวอย่างรวดเร็วจนปัจจุบันมีอยู่ 60 สาขา และตั้งเป้าไปได้ถึงพันสาขาในอนาคต
ไทยพัฒน์ฯ จัดทำแนวทางรับมือของภาคธุรกิจต่อสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ “Business Response Guidance on COVID-19” เผยแพร่ให้องค์กรธุรกิจ เพื่อดูแลผลกระทบทั้งในระยะสั้น และรักษาไว้ซึ่งคุณค่าขององค์กรในระยะยาว
ในขณะที่ไวรัส COVID-19 กำลังระบาดหนักเช่นนี้ “ธุรกิจร้านอาหาร” ถือเป็นหนึ่งในธุรกิจที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างมาก ซึ่งต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายต่างๆ ไว้มากมาย ทั้งค่าต้นทุนวัตถุดิบที่เป็นของสด ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าสถานที่ ฯลฯ ขณะที่ปริมาณลูกค้ากลับลดลงไปมหาศาล
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ปรับประมาณการรายได้ของธุรกิจร้านอาหารในปี 2563 ลงเหลือ 4.02 – 4.12 แสนล้านบาท จากคาดการณ์เดิม ณ ต้นปี 2563 มีมูลค่า 4.39 แสนล้านบาท หรือลดลงที่ประมาณ 2.65 - 3.65 หมื่นล้านบาท
ธพว. ทำงานเชิงรุก ลงพื้นที่ดูแลลูกค้าได้ผลกระทบจาก “โควิด-19” เผยประสบปัญหาแล้วมากกว่า 1 หมื่นราย ระบุเร่งพาเข้ามาตรการ “พัก-ขยาย-เติม” บรรเทาความเดือดร้อน ลดภาระค่าใช้จ่าย เพิ่มสภาพคล่อง ประคองธุรกิจให้ก้าวผ่านภาวะฉุกเฉินได้อย่างเข้มแข็ง