การลงทุนด้านดิจิทัล เครื่องมือไอทีต่าง ๆ มีความสำคัญต่อธุรกิจทุกวันนี้อย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 หลายธุรกิจต้องทรานฟอร์มตัวเองเพื่อเอาตัวรอด แล้วการลงทุนดิจิทัลด้านไหนล่ะถึงจะตอบโจทย์เป็นตัวช่วยให้ธุรกิจได้
กลุ่มเกษตรอินทรีย์ N-Do Fulltime (เอ็นดู ฟูลไทม์) คือการรวมตัวกันของคนทำเกษตรรุ่นใหม่ ลูกหลานชาวพิษณุโลก ที่ฝันอยากจะให้บ้านเกิดกลายเป็นสังคมเกษตรอินทรีย์ ผู้คนมีสุขภาพที่ดีและมีธุรกิจที่ยั่งยืนไปพร้อมกับคนพิษณุโลก
การเข้าถึงแหล่งวัตถุดิบจากต้นทางได้นับว่าเป็นสุดยอดปรารถนา ทว่าในความเป็นจริงการจะเข้าถึงผู้ผลิตวัตถุดิบยักษ์ใหญ่ได้นั้น ต้องสั่งซื้อในปริมาณมาก และบางครั้งเกินความต้องการใช้งานของ SME จึงได้เกิดรูปแบบการให้บริการจากบริษัทตัวแทนจำหน่ายขึ้นมา
เรียกว่าได้รับผลกระทบกันไปแบบเต็มๆ สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม แต่ในเมื่อชีวิตยังต้องดำเนินต่อไป เราจึงเห็นโรงแรมที่พักหลายแห่งมีการปรับตัวลุกขึ้นสู้กับวิกฤตในรูปแบบต่างๆ ที่ไม่ใช่แค่การให้บริการห้องพักเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
อยากทำสินค้านวัตกรรม แต่ไม่รู้จะเริ่มต้นจากไหนดี ลองดูแนวทางของ แบรนด์ “จั๊บ จั๊บ” (JUB JUB) ก๋วยจั๊บอุบลกึ่งสำเร็จรูป ที่ใช้วิธีขอซื้อสิทธิบัตรงานวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัย แล้วมาต่อยอดเป็นผลิตใหม่ พัฒนาแบรนด์จนประสบความสำเร็จ
ถ้าวันหนึ่งพนักงานในองค์กรของเราติดโควิด เราจะรับมือกับเหตุการณ์นี้อย่างไร? สำหรับ “ศุภรัตน์ โชติสกุลรัตน์” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด (UAE) รับมือกับเรื่องนี้ด้วยการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส
ถ้าพูดถึงสตรีทฟู้ดหากินได้ง่าย และใคร ๆ ก็รู้จัก ชั่วโมงนี้คงเป็นอย่างอื่นไปไม่ได้นอกจาก "หมูทอดเจียงฮาย" กับ "ไก่ทอดหาดใหญ่" 2 เมนูอาหารถิ่นที่สร้างชื่อโด่งดังเป็นที่รู้จักไปทั่วประเทศ แต่มีใครรู้ที่มา หรือต้นตอจริง ๆ ไหมว่าเกิดขึ้นมาจาก..
หลังโควิดเศรษฐกิจและการค้าโลกจะเปลี่ยนไป ทั้งการใช้ระบบอัตโนมัติต่างๆ มาทดแทนแรงงานคน การย้ายฐานการผลิตกลับประเทศต้นทาง ตลอดจนการใช้นโยบายการเงินแบบรูปแบบใหม่ของธนาคารกลาง ฉะนั้นต้องปรับตัวให้ทันใน 3 เรื่องหลักต่อไปนี้
เส้นพาสต้าและราเมง ที่เสิร์ฟความอร่อยอยู่ในตลาดโลก มีจุดเริ่มต้นที่แปลงนาข้าวแข็งอินทรีย์มาตรฐานส่งออก ของ “กลุ่มข้าวฅนอินทรีย์ จังหวัดพิจิตร” เมื่อข้าวเคมีเปลี่ยนเป็นข้าวอินทรีย์ทำให้สามารถขยับราคาผลผลิตจากหลักพันขึ้นเป็นหลักหมื่น
“ผึ้งยิ้ม” แฟรนไชส์เครื่องดื่มน้ำผึ้งมะนาวจากธรรมชาติที่เปิดตัวในเมืองไทยเมื่อหลายสิบปีก่อน วันหนึ่งเมื่อธุรกิจเริ่มเดินทางมาถึงจุดอิ่มตัว จากการขายแฟรนไชส์ในประเทศ จึงพุ่งเป้าสร้างนวัตกรรมเพื่อขยายไปยังตลาดต่างประเทศ
หากจะวัดความสามารถทางการแข่งขันรวมถึงความเข้มแข็งทางธุรกิจนอกเหนือจากปัจจัยเชิงคุณภาพอย่างเช่น โปรดักต์ที่มี ทีมพนักงานรวมถึงผู้นำองค์กรแล้ว ยังมีอีกวิธีการวัดผลที่เป็นรูปธรรมนั่นคือการดูที่อัตราส่วนทางการเงินต่างๆ
ลองมาทำความรู้จักกับตัวตนที่แท้จริง และแนวคิดการทำธุรกิจที่ไม่เหมือนใครจนประสบความสำเร็จขึ้นมา และคว้ารางวัลล่าสุด Icon Award Asia 2021 หรือรางวัลบุคคลต้นแบบ ปี 2564 ที่ประกาศผ่านทางเว็บไซต์ theworlds50best มาครอง