การมาถึงของไวรัสตัวร้าย ทำให้ผู้คนมีความตระหนักถึงปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตของตัวเองมากขึ้น มีรูปแบบการใช้ชีวิตที่แปรเปลี่ยน ตลอดจนความต้องการที่เปลี่ยนไป เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมอาหารในเอเชียที่กำลังจะพลิกโฉมหลังโควิด-19
โมเดลธุรกิจอย่างแฟรนไชส์ มักถูกใช้เป็นไม้ตายของคนที่อยากลงทุนทำกิจการแต่ไม่กล้าเสี่ยงแบบเต็มตัว โดยเฉพาะในช่วงนี้ ที่หากธุรกิจไหนได้รับผลกระทบ ดำเนินกิจการไม่ได้ คนก็เริ่มมองหาธุรกิจใหม่ที่มาทดแทนรายได้ที่สูญเสียไป และหนึ่งในนั้นก็คือ “แฟรนไชส์”
โควิด-19 นำมาสู่ค้าปลีกรูปแบบใหม่ ที่การสร้างมาตรฐานด้านความสะอาดและความปลอดภัย จะกลายมาเป็นปัจจัยที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญ ควบคู่ไปกับการรุกตลาดออนไลน์ เมื่อการกักตัวสร้างพฤติกรรมใหม่ที่เคยชินจนเป็นเรื่องปกติที่เรียก New Normal
บางทีชีวิตก็ต้องมีบททดสอบยากๆ ส่งมาให้เราได้พิสูจน์ว่าเราแข็งแกร่งมากแค่ไหน อย่างสถานการณ์โควิด-19ตอนนี้ที่กำลังเล่นงานเราอย่างหนักและถ้าคุณสามารถผ่านมันไปได้ เราเชื่อว่าจะไม่มีอะไรทำร้ายคุณได้อีกแน่นอน
สถานการณ์ไวรัสโควิด-19 กระทบต่อภาคธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะธุรกิจค้าปลีกและร้านอาหารที่รายได้ส่วนใหญ่มาจากการขายหน้าร้านเป็นหลัก หนึ่งในการปรับตัวเพื่อประคับประคองธุรกิจคือ การเพิ่มช่องทางการขายทางออนไลน์มากขึ้นนั่นเอง
ในโลกยุคใหม่ที่ธุรกิจการค้าเติบโตมากยิ่งขึ้น การใช้แพ็กเกจจิ้งเพื่อห่อหุ้มสินค้าก็ย่อมต้องเพิ่มจำนวนมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมตามมา โดยเฉพาะการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ง่าย
ธพว. เดินหน้า “สินเชื่อ SME โตไว ไทยยั่งยืน” ดอกเบี้ย 1 เปอร์เซ็นต์ ดีเดย์เปิดรับคำขอ 15 พ.ย.นี้ ณ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดทั่วประเทศ
มกราคม–กรกฎาคม 2562 คนต่างด้าวได้รับใบอนุญาต 124 ราย มีเงินลงทุนทั้งสิ้น 15,962 ล้านบาท และเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนพบธุรกิจที่ได้รับอนุญาตลดลง 36 ราย คิดเป็นร้อยละ 23 ขณะที่เงินลงทุนเพิ่มขึ้นถึง 8,464 ล้านบาท
ธุรกิจค้าปลีก-ค้าส่ง มีสัดส่วนถึง 16 เปอร์เซ็นต์ ของจีดีพี โดยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (2551-2561) เติบโตเฉลี่ยกว่า 6.8 เปอร์เซ็นต์ ต่อปี แต่เวลานี้ธุรกิจเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
จากการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล ส่งผลให้ธุรกิจต่างๆ ได้รับผลกระทบ กลายเป็นเครื่องมือสำคัญที่ทำให้ธุรกิจเติบโตและขยายตลาดได้ง่ายขึ้นในปัจจุบัน ต้องมีการทำการตลาดผ่านโซเชียลมีเดียมากขึ้น
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในไตรมาส 1 ชะลอตัวลงต่ำสุดในรอบ 17 ไตรมาส ซึ่งสงครามการค้าระหว่างมหาอำนาจ ปัจจัยการเมืองไทย และภาวะภัยแล้ง นับเป็น 3 ปัจจัยหลักที่จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในครึ่งปีหลัง
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เปิดผลสำรวจดัชนี SME ประจำไตรมาส 4/2561 ส่งสัญญาณบวก ปรับเพิ่มทั้งด้านสถานการณ์ธุรกิจ ความสามารถในการทำธุรกิจ และดัชนีความสามารถในการแข่งขัน คาดเพิ่มต่อเนื่องในไตรมาส 1/2562