ในขณะที่หลายประเทศทั่วโลกเริ่มคลี่คลายสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 แต่สำหรับประเทศไทยเรายังต้องเผชิญกับการระบาดที่นานขึ้น ซึ่งการฟื้นตัวของไทยนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยเร่งต่อไปนี้
ไม่ว่าจะอุตสาหกรรมไหนก็ต้องปรับตัวเพื่ออยู่รอดและไปต่อด้วยกันทั้งนั้น เช่นเดียวกับ อุตสาหกรรมด้านการออกแบบ สำหรับ 3 นักออกแบบระดับมือรางวัล พวกเขามี “วิธีคิด” และ “ทำ” ที่น่าสนใจ ในการรับมือกับวิกฤต เพื่อเอาตัวรอดและเติบโตในยุค Next Normal
ภาคการส่งออกสินค้าได้ฟื้นตัวตามทิศทางเศรษฐกิจและการค้าโลก แต่ภาคการผลิตที่เกี่ยวข้องกับการบริการและการท่องเที่ยวยังคงซบเซาอย่างต่อเนื่อง จึงเรียกได้ว่าการส่งออกจึงยังเป็นความหวังสำหรับเศรษฐกิจไทยตอนนี้
“ธงธเนส ศิริไชยชาญ” ชายหนุ่มจากเมืองกรุงผู้หลงใหลในเสน่ห์เมืองเล็กๆ ริมแม่น้ำโขงแห่งนี้ เขาคือหนึ่งในผู้ที่เคยได้รับทั้งโอกาสและต้องเสียโอกาสจากการย้ายที่ทางในการทำธุรกิจ ซึ่งหากจะว่าไปแล้วเขาอาจเป็นบุคคลที่ย้ายกิจการบ่อยที่สุดในเชียงคานก็ว่าได้
ในสมัยก่อนโรงแรมส่วนใหญ่จะใช้การขายตรงผ่านโบรชัวร์ที่นำไปแจกให้กับ Agency หรือหน่วยงานต่างๆ เป็นหลัก แต่ทว่าเมื่อเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ กระแสผู้บริโภคเปลี่ยนมีการถามถึงเว็บไซต์ของโรงแรมมากขึ้น จึงได้เวลาปรับหน้าเว็บโรงแรมสู่ OTA
“โรงแรม พันล้าน บูติค รีสอร์ท” ใน จ.หนองคาย ของ “เรืองณภัทร วงค์ศิริภักดิ์ดี” อดีตแม่ค้าที่พลิกมาทำธุรกิจโรงแรม เธองัดทักษะวิชามากู้วิกฤตไวรัส ทั้ง รับทำอาหารกล่อง เปิดร้านขายข้าวแกง และทำน้ำพริกขาย โดยชูจุดเด่นเมนูคุณภาพระดับโรงแรม
มีสัญญาณให้เห็นชัดเจนว่าในช่วงโควิดที่ผ่านมา กลุ่มสินค้าที่เป็นอาหารเกี่ยวกับสุขภาพได้รับความสนใจมากขึ้น นอกจากนี้กลุ่มสินค้าที่มาแรง และเป็นอนาคตของผู้ส่งออกอาหารไทย ก็คือแพลนต์เบส (Plant-based Food) อาหารจากพืช ซึ่งกำลังเติบโตอย่างมากในตลาดโลก
เรียกว่าได้รับผลกระทบกันไปแบบเต็มๆ สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม แต่ในเมื่อชีวิตยังต้องดำเนินต่อไป เราจึงเห็นโรงแรมที่พักหลายแห่งมีการปรับตัวลุกขึ้นสู้กับวิกฤตในรูปแบบต่างๆ ที่ไม่ใช่แค่การให้บริการห้องพักเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
หลังโควิดเศรษฐกิจและการค้าโลกจะเปลี่ยนไป ทั้งการใช้ระบบอัตโนมัติต่างๆ มาทดแทนแรงงานคน การย้ายฐานการผลิตกลับประเทศต้นทาง ตลอดจนการใช้นโยบายการเงินแบบรูปแบบใหม่ของธนาคารกลาง ฉะนั้นต้องปรับตัวให้ทันใน 3 เรื่องหลักต่อไปนี้
Life at home report เป็นงานวิจัยที่อิเกียทำขึ้นปีละครั้ง สำรวจเมืองใหญ่ 37 แห่งทั่วโลก เพื่อเข้าใจความต้องการของลูกค้าอย่างลึกซึ้งรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เหตุการณ์ในปี 2020 เหมือนเป็นใจให้อิเกียมาก เพราะโควิดทำให้คนอยู่บ้านมากขึ้น
8 ปีก่อน แบรนด์สินค้าสุขภาพเล็กๆ ชื่อ “ฮัก” (Hug) ถือกำเนิดขึ้น วันนี้เติบโตเป็นแบรนด์ที่รักของทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ วางจำหน่ายในร้านสุขภาพชื่อดัง ห้างสรรพสินค้าชั้นนำ โรงแรม รีสอร์ต ตลอดจนช่องทางออนไลน์ และยังไปทำตลาดอยู่ในหลายประเทศ
ถ้าเราลองมองดูการวางแผนการฟื้นฟูการท่องเที่ยวของ ททท. สิ่งที่เห็นคือ “การวางระยะเวลาการฟื้นฟูที่ชัดเจน” จากเริ่มต้นการคลาย Lockdown ระยะที่ 2 เลือกพื้นที่ “ทดลอง” เปิดประเทศเพื่อรองรับการท่องเที่ยว และสุดท้ายคือการเปิดประเทศเต็มตัว