บริษัท เจริญอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) หรือ CH หนึ่งในผู้นำที่อยู่ในแวดวงธุรกิจอาหารมานานกว่า 98 ปี แต่องค์กรมีความทันยุคทันสมัยตลอดเวลา ส่งขนมสุขภาพแบรนด์น้องใหม่อย่าง “Bangkok Tasty by CH” เข้าสู่ไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ ต่อจากแพลนต์เบสเจอร์กี้ แบรนด์ Meble
ศูนย์วิจัยธนาคารกรุงไทย ประเมินว่าในปี 2567 ตลาดแพลนต์เบสประเทศไทยจะอยู่ที่ 45,000 ล้านบาทหรือโตเฉลี่ยที่ 10 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ทำให้มีผู้เล่นมากมายที่หันมาสนใจตลาดนี้โดยเฉพาะธุรกิจรายใหญ่ที่มีความพร้อมทั้งเครื่องมือและกำลังทุน นี่คือ 2 วิธีที่จะพา SME ที่อยากตีตลาดหมื่นล้านนี้โดยไม่ต้องเสียเปรียบผู้เล่นรายใหญ่
“โซย่า” (SO-YA) เครื่องดื่มนมถั่วเหลืองออร์แกนิกเกรดพรีเมียมที่เข้ามาลงสนามแชร์ส่วนแบ่งในตลาดแพลนต์เบสและคนรักสุขภาพ ใครจะรู้บ้างว่า นี่คือ อีกหนึ่งในผลิตผลภายใต้ร่มเงาของเครือแม่ประนอม ที่แตกไลน์ธุรกิจสร้างบริษัทลูกขึ้นมา เพื่อช่วงชิงโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ
“สุรพลฟู้ดส์” ดำเนินธุรกิจอาหารแช่แข็งและอาหารพร้อมทานมานานกว่า 45 ปี วันนี้มองเห็นโอกาสของตลาดแพลนต์เบสฟู้ดที่กำลังเติบโต จึงต่อยอดความเชี่ยวชาญสู่ “WTM! WHAT THE MEAT” (วอท เดอะ มีท) ผลิตภัณฑ์ปลอดเนื้อสัตว์
รู้หรือไม่ว่า “เห็ดแครง” ที่เป็นส่วนผสมของเมนูแพลนต์เบสทุกแบรนด์ในประเทศไทย ล้วนมาจากเครือข่าย “บ้านเห็ดแครง” จ.สงขลา เกษตรกรผู้เพาะเห็ดแครงด้วยระบบ Smart Farm ที่ควบคุมได้ทั้งคุณภาพและปริมาณ
BRATBOX ผู้ผลิตไส้กรอกเยอรมันสัญชาติไทยแท้ ต่อยอดสูตรลับความอร่อยกว่า 200 ปี สร้างโอกาสใหม่ธุรกิจส่งไส้กรอกเนื้อวัว เนื้อแกะ Plant Based บุกตลาด
มีท อวตาร (Meat Avatar) ผลิตภัณฑ์เนื้อจำแลงที่ผลิตจากพืช (Plant-based Meat) ได้ถือกำเนิดขึ้นในตลาดเมื่อ 3 ปีก่อน วันนี้พวกเขากลับมาในซีซันใหม่ แตกไลน์สู่ “มาทาน” (Matan) อาหารแพลนต์เบสทานง่าย
ว่ากันว่าธุรกิจที่จะประสบความสำเร็จได้ต้องรู้จักพัฒนาตัวเองตลอดเวลา เหมือนกับ “นิธิฟู้ดส์” ผู้ผลิตเครื่องเทศและเครื่องปรุงรสชั้นนำที่ได้ทรานส์ฟอร์มธุรกิจไปสู่การเป็นผู้ผลิต “แพลนต์เบส”ภายใต้ชื่อ “Let’s plant meat”
มีสัญญาณให้เห็นชัดเจนว่าในช่วงโควิดที่ผ่านมา กลุ่มสินค้าที่เป็นอาหารเกี่ยวกับสุขภาพได้รับความสนใจมากขึ้น นอกจากนี้กลุ่มสินค้าที่มาแรง และเป็นอนาคตของผู้ส่งออกอาหารไทย ก็คือแพลนต์เบส (Plant-based Food) อาหารจากพืช ซึ่งกำลังเติบโตอย่างมากในตลาดโลก