ในทุกจังหวะก้าวและจังหวะลุย ที่เป็นขาขึ้นของธุรกิจ เราสามารถใช้สัญชาติญาณ ในการตัดสินใจ และลุยไปข้างหน้าได้ แต่เมื่อมีปัญหา สิ่งสำคัญที่สุดก็คือ การหยุดให้เป็น!
เมื่อไม่นานมานี้ ได้มีโอกาสอ่านหนังสือชื่อ The subtle art of not giving a fuck เขียนโดย Mark Manson ทำให้คิดได้ว่า เราไม่ต้องเอาทุกเรื่องมาเป็นปัญหาก็ได้ ไม่งั้นคงเสียสติหรือเครียดจนเส้นเลือดในสมองแตก !
กำลังเป็นกระแสร้อนแรงในโลกโซเชียลในประเทศจีน ถึงประเด็นที่มีบริษัทแห่งหนึ่งในจีนที่ต้องการตรวจสอบการทำงานของพนักงานในบริษัทว่ามีการเล่นโทรศัพท์มือถือในระหว่างทำงานหรือไม่ ทำให้เกิดการถกเถียงในประเด็นดังกล่าวว่าเป็นการละเมิดความเป็นส่วนตัวหรือไม่
ในการทำธุรกิจนั้นมีต้นทุนแฝงอยู่มากมาย แค่เก็บของไม่เป็นที่เป็นทาง นอกจากพนักงานต้องเสียเวลาหาของแล้ว หาไม่ดีบางทีของก็ชำรุดเสียหายเหล่านี้ล้วนเป็นต้นทุนทั้งสิ้น
คงไม่ใช่เรื่องแปลกอีกต่อไปแล้วในโลกยุคหลังโควิด หากจะบอกว่าวันนี้คุณยังเป็นพนักงานประจำอยู่ แต่กลับไม่ต้องนั่งทำงานอยู่ออฟฟิศ หรือไม่จำเป็นต้องเข้าทำงาน 5 - 6 วันต่อสัปดาห์อีกต่อไป
ถ้าพูดถึงประเทศที่มีมวลรวมความสุขมากที่สุดในโลก แน่นอนใครๆ ก็ต้องนึกถึงกลุ่มประเทศนอร์ดิก ได้แก่ เดนมาร์ก สวิตเซอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ โดยเฉพาะฟินแลนด์ซึ่งครองแชมป์อันดับ 1 ถึง 5 ปีติดต่อกัน
ทุกวันนี้รูปแบบการทำงานขององค์กรต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการทำงานจากที่บ้าน การประชุมออนไลน์ การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์แทนการใช้กระดาษ ฯลฯ เพื่ออำนวยความสะดวกในโลกปัจจุบัน
การสร้างทีมงานให้ทำงานเป็นทีมเป็นสิ่งสำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกปัจจุบันที่ความห่างไกลทำให้การรักษาความสัมพันธ์ของคนในทีมดูจืดจางลง
ลายคนคงเคยได้ยินคำว่า Burnout Syndrome หรืออาการหมดไฟในการทำงาน อาการ Burnout ส่งผลให้เกิดความเบื่อหน่าย ไม่อยากหยิบจับทำอะไร รู้สึกสูญเสียพลังทางจิตใจ มองงานที่ทำอยู่ในเชิงลบ ขาดความสุข ไม่สนุก ปลีกตัวออกห่างจากเพื่อนร่วมงาน
ทุกวันนี้การทำงานเป็นทีมสำคัญมาก หากขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ก็ยากที่จะประสบความสำเร็จได้
สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง และกินระยะเวลามายาวนานร่วม 3 ปี ซึ่งที่ผ่านมาเราก็ได้เห็นผู้ประกอบการ SME หลายรายยืนหยัดท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงนี้ได้ บทเรียนเหล่านั้นนับเป็นองค์ความรู้ ถือเป็น “วัคซีน” สำคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจในการปรับตัวได้ ลองไปดูวิธีปรับตัวเหล่านั้นกัน
“ทำธุรกิจก็เหมือนกับม้าแข่งในสนาม มองเห็นแต่ลู่วิ่งด้านหน้า ปัญหาบางอย่างก็มองไม่เห็น เมื่อไร ที่ขยับขึ้นมานั่งในตำแหน่งกองเชียร์บนอัฒจันทร์ ก็จะเห็นภาพรวม ว่าปัญหาและจุดสำคัญอยู่ตรงไหน”