ถึงแม้ว่ากระแสชานมไข่มุกในปัจจุบันจะเบาลงและได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ไปบ้าง แต่ธุรกิจชานมไข่มุกรายใหญ่ๆ ก็ยังคงเติบโตกันอย่างต่อเนื่อง
ยิ่งนานวันอาหารที่ทำจากพืช หรือ Plant-based food ได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ อาจเป็นด้วยเทรนด์การใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภค รวมไปถึงการห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงการไม่เบียดเบียนสัตว์
พูดถึงแบรนด์เครื่องดื่มสุดฮิตในตอนนี้ คงไม่มีใครไม่รู้จัก "Tao Bin" หรือ "เต่าบิน" ตู้ชงกาแฟสดและเครื่องดื่มอัตโนมัติที่เปิดให้บริการประหนึ่งเป็นคาเฟ่ 24 ชั่วโมง
ว่าด้วยอุณหภูมิที่ร้อนระอุของบ้านเรา หนึ่งในสินค้าขายดีตลอดกาลก็คงหนีไม่พ้นสินค้าช่วยคลายร้อน ซึ่งในแต่ละเซกเมนต์ก็มีเจ้าตลาดอยู่หลายแบรนด์ด้วยกันทำรายได้ปีๆ หนึ่งเป็นพันล้านบาท
สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง และกินระยะเวลามายาวนานร่วม 3 ปี ซึ่งที่ผ่านมาเราก็ได้เห็นผู้ประกอบการ SME หลายรายยืนหยัดท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงนี้ได้ บทเรียนเหล่านั้นนับเป็นองค์ความรู้ ถือเป็น “วัคซีน” สำคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจในการปรับตัวได้ ลองไปดูวิธีปรับตัวเหล่านั้นกัน
มะนาวราคาผันผวน คือ ปัญหาที่เกษตรกร ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้บริโภคต้องเผชิญกันเป็นประจำเกือบทุกปี เพราะประเทศไทยไม่ได้ปลูกมะนาวได้ดีทุกฤดูกาล
อะไรที่ทำให้ “ซันซุ เยลลี่ บุก 0 แคล” กลายเป็นสินค้าที่ได้รับความนิยมในระยะเพียงไม่นาน ซึ่งผู้ที่จะตอบคำถามนี้ได้ดีที่สุด คงจะเป็นใครไปไม่ได้นอกจาก 2 ยูทูบเบอร์ชื่อดัง ซารต์ - ปัทมพร ปรีชาวุฒิเดช และ กานต์ - อรรถกร รัตนารมย์ และผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท ซันซุโซลูชั่น จำกัด เจ้าของแบรนด์ “ซันซุ” (Sunsu)
แนวโน้มการค้าขายในตลาดออนไลน์หรืออีคอมเมิร์ซโลกเติบโตเพิ่มสูงขึ้นอย่างก้าวกระโดด ดังนั้นจึงเป็นโอกาสสำคัญทางธุรกิจหากผู้ประกอบการจะหันมาใช้ช่องทางอีคอมเมิร์ซอย่างจริงจัง ลองฟัง ธนาวัฒน์ มาลาบุปผา ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท ไพรซ์ซ่า จำกัด “Priceza” เว็บไซต์เปรียบเทียบราคาสินค้าแนะข้อมูลแนวโน้ม 3 ช่องทางอีคอมเมิร์ซอนาคตไกลน่าสนใจไว้ดังนี้
เพราะร่างกายของคนเรานั้นมักแตกต่างกันไป บางคนผอม บางคนอ้วน ฯลฯ ความต้องการสารอาหารของแต่ละคนจึงไม่เท่ากัน ในเมื่อผู้บริโภคยุคใหม่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ทำให้การพัฒนาอาหารในรูปแบบ One size fits all อาจไม่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคได้ดั่งเก่า จึงเกิดแนวคิด Tailored to FIT นำไปสู่การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพที่เรียกว่า Personalized Food ที่คาดว่าจะสร้างแรงกระเพื่อมใหม่ในโลกอาหารเพื่อสุขภาพ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการอาหารที่จะขยายฐานกลุ่มลูกค้า
ในช่วงที่ผ่านมาเชื่อว่าในการทำธุรกิจของผู้ประกอบการไทยทุกคนต้องเจอกับเรื่องของกระแสเงินสดที่อาจไม่คล่องตัว ซึ่งการจะประคองธุรกิจให้อยู่รอดได้การรักษาสภาพคล่องหรือเงินทุนหมุนเวียนสำคัญที่สุด
สำหรับในการทำธุรกิจไม่ว่าจะทำธุรกิจขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่นั้นไม่สำคัญ แต่อยู่ที่เก่ง หรือไม่เก่ง ต้องมีแนวคิดที่ยั่งยืนและเมื่อเจอกับอุปสรรคก็สามารถที่จะปรับตัวและนำพาธุรกิจไปข้างหน้าได้อย่างรวดเร็ว
ดูเหมือนว่าช่วงวันเวลาที่ลูกค้าเคยใช้บริการโรงแรมแล้วได้กับการดูแลดุจนายกับบ่าวมีแนวโน้มสิ้นสุดลง และลูกค้าที่เข้าพักโรงแรมอาจต้องบริการตัวเองมากขึ้น