แน่นอนเวลาทำธุรกิจหรือขายสินค้า เราหลีกเลี่ยงที่จะเจอกับคำถามของลูกค้าไม่ได้หรอก บางครั้งเราต้องเจอกับคำถามจากลูกค้าประเภทช่างซักช่างถาม ครันจะไม่ตอบ เดี๋ยวก็เจอติด #ร้านนี้แม่ค้าหยิ่ง กลายเป็นดราม่าบนโซเชียลไปอีก
ในหนังสือ “No Rules Rules” ที่เขียนโดย รีด เฮสติ้งส์ บอกเอาไว้ว่าที่ Netflix เขามักสอนพนักงานทุกคนว่า ข้อมูลป้อนกลับเป็นของขวัญ (Feedback is a gift) เมื่อได้รับจงดีใจและรีบกล่าวคำขอบคุณ
อยากเลี่ยงแป้งทำไมต้องอด อยากผอม อยากสุขภาพดี ทำไมต้องกินแต่ของไม่อร่อย! ด้วยเหตุนี้ ทานดี อินโนฟูด จึงได้ปลุกปั้นนวัตกรรมใหม่มาสนองตลาดสายสุขภาพ ที่พลเมือง 1 ใน 3 ของโลกคือคนอ้วน และไทยก็มีคนอ้วนเป็นอันดับ 2 ในอาเซียนเป็นที่เรียบร้อย
เห็นชื่อคล้ายฝรั่ง! แต่จริงๆ แล้ว ทิฟฟี่ คือ ยาบรรเทาอาการแก้ไข้ แก้ปวด และเป็นหวัดที่ผลิตขึ้นมาโดยคนไทยร้อยเปอร์เซ็นต์นะ โดยที่มาของชื่อ ทิฟฟี่ นั้นมาจากเสียงของคนเวลาเป็นหวัด ซึ่งมักจะส่งเสียงอู้อี้พูดไม่ชัดนั่นเอง
ธุรกิจในตอนนี้กำลังเจอกับ Double Disruptions ซึ่งจะอยู่กับเราต่อไปอีกยาวแม้จะหมดจากโควิดไปแล้วก็ตาม และนี่คือ 9 เทรนด์เทคโนโลยีแห่งอนาคตที่เชื่อมโยงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
ในวิกฤตย่อมมีโอกาสฉันใด ในสภาพเศรษฐกิจฝืดเคืองและสถานการณ์โรคระบาดเช่นนี้ ก็ย่อมมีสินค้าที่ขายดีพุ่งสวนกระแสขึ้นมาฉันนั้น จนกลายเป็นสินค้าขายดีแห่งปี 2020 ซึ่งหลายชนิดอาจมีมานานเป็นนับสิบปีแต่กลับเพิ่งมาแจ้งเกิดก็ปีนี้
วัน-อมตะ สุขพันธ์ และ ออฟ-ณิสาพัฒน์ ทองประทุม คู่รักผู้ก่อตั้ง หจก.วัน-ออฟ คอฟฟี่ ฟาร์มสเตย์ จ.แม่ฮ่องสอน ที่กลายมาเป็นผู้ประกอบการจากจุดเริ่มต้นแค่อยากวางแผนเกษียณตัวเองจากงานที่ทำเพื่อไปใช้ชีวิตที่สงบสุขในต่างจังหวัด
ในวันที่โลกได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การออกงานแฟร์ที่เป็นลักษณะเสมือนจริง หรือ Virtual Trade Fair กลายเป็นทางออกและคำตอบ ที่สำคัญยังสามารถแก้ปัญหา “ได้ไม่คุ้มเสีย” ที่ SME เคยเผชิญมาในอดีตอีกด้วย
“โอ้กะจู๋” ร้านอาหารสุขภาพที่มีเมนูจัดหนักจัดเต็มและอร่อย จนคนต้องต่อคิวซื้อ มีสาขา 14 สาขา มีฟาร์ม 4 ฟาร์ม มีศูนย์กระจายสินค้า ครัวกลาง พนักงานเกือบพันคน ในปีที่ผ่านมามีรายได้รวมถึงกว่า 643 ล้านบาท!
ผู้ประกอบการในวัยเกือบ 50 ปี แถมยังอยู่ในอุตสาหกรรมผลิตมากว่า 2 ทศวรรษ แต่ทำไมวันหนึ่งถึงลุกมาทำเรื่องใหม่ๆ อย่าง การตลาดดิจิทัล ผู้ผลิตแอนิเมชัน กระทั่งนวัตกรรมฟาร์มผัก AI ฯลฯ กับเขาได้
การยึดมั่นในความซื่อสัตย์และความจริงใจผสานกับแนวคิดของคนรุ่นใหม่ กำลังทำให้จังสุ่ยศิลป์เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น โดยใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ (social Network) บวกกับความชอบด้านการถ่ายรูป เป็นกลยุทธ์เพื่อขยายตลาด