Mini Rice Cracker เป็นแบรนด์ SME ที่ส่งออกไปยัง 7 ประเทศได้ภายในระยะเวลาเพียงครึ่งปี วางขายในซูเปอร์มาร์เก็ตชั้นนำเคียงข้างแบรนด์ระดับโลก และสร้างรายได้สูงถึงเดือนละหลักล้านบาท
บนชั้นวางในซูเปอร์มาร์เกตเกรดพรีเมียมในเซี่ยงไฮ้ ไต้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์ เราจะเห็นข้าวแต๋น Mini Rice Cracker ขนมจากผู้ประกอบการ SME ไทยวางเคียงกับมันฝรั่งอบกรอบแบรนด์ดังจากทั่วโลกตั้งแต่ช่วงตุลาคมปี 2562 ที่ผ่านมา และทำตลาดต่อเนื่องไปในมาเก๊า เวียดนาม และกัมพูชาในเวลาไล่เลี่ยกัน
ในช่วง 4 เดือนแรกของปี 2563 ท่ามกลางวิกฤตไวรัสโควิด-19 การค้าชายแดนและผ่านแดนไทยมีมูลค่า 209,231 ล้านบาท หดตัวร้อยละ 10.6 (YoY) โดยการส่งออกอาหารสด ผักและผลไม้หดตัวสูงร้อยละ 38.1 (YoY) เนื่องจากอ่อนไหวด้านระยะเวลาขนส่งอย่างมาก ขณะที่อาหารแปรรูปยังขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 (YoY)
“ดอกบัวคู่” ยาสีฟันสมุนไพรสีกาแฟที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นจุดด้อยอยู่ในตลาด เพราะสีที่แตกต่าง ไม่เหมือนใคร จนไม่มีใครกล้าทดลองใช้ แต่ผ่านมา 43 ปี วันนี้สามารถพลิกขึ้นมาเป็นเบอร์ 1 ตลาดยาสีฟันสมุนไพรไทยได้
ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ตามมาด้วยมาตรการ Lockdown ของหลายประเทศทั่วโลก ส่งผลถึงภาคการส่งออกของไทยที่หดตัวลงอย่างต่อเนื่อง
การมาถึงของไวรัสตัวร้าย ทำให้ผู้คนมีความตระหนักถึงปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตของตัวเองมากขึ้น มีรูปแบบการใช้ชีวิตที่แปรเปลี่ยน ตลอดจนความต้องการที่เปลี่ยนไป เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมอาหารในเอเชียที่กำลังจะพลิกโฉมหลังโควิด-19
ก่อนหน้านี้ใครๆ ก็ว่า CLMV คือตลาดแห่งความหวังของผู้ส่งออกไทย แต่ทว่าทันทีที่พายุไวรัสโควิด-19 พัดผ่าน ตลาดที่เคยหอมหวานกลับเปลี่ยนแปลงไป ในวันนี้ประเทศแห่งความหวังกำลัง “บอบช้ำ”
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผย ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนมีนาคม 2563 หดตัวร้อยละ 11.25 จากภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัวเพราะสถานการณ์โควิด-19 และภัยแล้ง ส่งผลให้ MPI ไตรมาสแรกปี 2563 หดตัวลงร้อยละ 6.63 เมื่อเทียบกับปีก่อน
ไมลอทท์ แลบบอราทอรีส์” คือผู้ผลิตสินค้าเครื่องสำอางและความงาม ซึ่งเป็นที่ยอมรับของแบรนด์ชั้นนำระดับโลก โดยสามารถผลิตสินค้าได้สูงถึงกว่า 70 ล้านชิ้นต่อเดือน ส่งออกไปในกว่า 50 ประเทศทั่วโลก และอยู่ในตลาดความงามมานานถึง 30 ปี
เอกา โกลบอล คือบริษัทคนไทยที่กลายเป็นบริษัทระดับโลก หลังปี 2562 ได้เข้าซื้อกิจการ พริ้นท์แพค เอเชีย ทำให้กลายเป็นผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ชนิด Longevity Packaging รายใหญ่ของโลก เบอร์ 1 ในเอเชีย ที่มีกำลังการผลิตสูงถึง 2,500 ล้านชิ้นต่อปี
คนหนึ่งคนกับเงินลงทุนแค่หลักหมื่น ก็สามารถสร้างธุรกิจระดับพันล้านบาทได้ เช่นเดียวกับที่ “พงศ์วิวัฒน์ ทีฆคีรีกุล” ผู้ก่อตั้งธุรกิจเครื่องสำอาง KARMART ได้พิสูจน์ให้เห็นตลอด 8 ปี ของการทำธุรกิจ
หลายสิบปีก่อน สิ่งทอไทยถูกมองว่า เป็น “Sunset” ธุรกิจขาลงที่หมดยุคหอมหวานไปนานแล้ว แต่ใครจะคิดว่าวันนี้อุตสาหกรรมสิ่งทอไทยยังคงอยู่และเติบโต ด้วยการปรับตัวของผู้ประกอบการไทยที่ครองใจแบรนด์ดังระดับโลกมานานหลายปี