ธุรกิจอะไรที่เติบโตสวนพิษโควิดได้อย่างไม่กลัวไวรัส? ที่เด่นชัดก็คงจะเป็น Mango Tree : แม็งโกทรี ร้านอาหารไทยในเครือเดียวกันกับร้านสุกี้ “โคคา” ที่เติบโตได้อย่างไม่กลัวโควิดที่วัดได้จากแพลนเปิดร้านอาหารใหม่รวม 17 แห่งปีนี้ทั้งในไทยและเอเชีย
เซลลาร์เบรชั่น (Cellarbration) พัฒนาช่องทางจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบออนไลน์และจัดส่งถึงที่ ลูกค้าไม่ต้องเดินทางมาที่ร้าน เพียงแต่ลูกค้าต้องสแกน QR Code จากแอปพลิเคชัน Singpass บนสมาร์ทโฟนเพื่อยืนยันว่ามีอายุว่าเกิน 18 ปี
ตั้งแต่มีโควิดหลายกิจการจัดการปัญหา “หนี้” ได้ยาก ตอนนี้ ธปท. มีโครงการให้ SME รวมหนี้จากเจ้าหนี้หลายรายให้เหลือแค่รายเดียว ต่ออายุให้กิจการเดินหน้าต่อ
สถานการณ์การระบาดสร้างความเสียหายให้กับธุรกิจ แต่อย่าเอาแต่โฟกัสไปที่ผลกระทบด้านลบที่โควิด-19 มี เรามาเรียนรู้บทเรียนที่แบรนด์ต่างๆ สามารถเรียนรู้ได้จากวิกฤตครั้งนี้กัน
ผู้ประกอบธุรกิจที่มีทรัพย์สินประเภทอาคารหรือสิ่งก่อสร้างที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิดจนไม่สามารถที่จะดำเนินกิจการต่อได้ ลองศึกษาโครงการ “พักทรัพย์ พักหนี้” เพื่อเป็นอีกแนวทางในการที่จะเสริมสภาพคล่องทางธุรกิจให้กับตัวเอง
จากระยะเวลาเกือบปีครึ่งที่ผ่านมา จนถึงวันนี้เราทุกคนยังตกอยู่ในวิกฤตจากไวรัสโควิด-19 ซึ่งก็ไม่รู้ว่าจะกินเวลายาวนานไปอีกสักเท่าใด ในวันนี้จึงขอส่งกำลังใจให้กับผู้ประกอบการไทยอีกครั้งผ่าน 10 บทสัมภาษณ์ผู้ประกอบการเลือดนักสู้ที่ไม่ยอมแพ้ต่อโควิด
ในขณะที่หลายประเทศทั่วโลกเริ่มคลี่คลายสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 แต่สำหรับประเทศไทยเรายังต้องเผชิญกับการระบาดที่นานขึ้น ซึ่งการฟื้นตัวของไทยนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยเร่งต่อไปนี้
ไม่ว่าจะอุตสาหกรรมไหนก็ต้องปรับตัวเพื่ออยู่รอดและไปต่อด้วยกันทั้งนั้น เช่นเดียวกับ อุตสาหกรรมด้านการออกแบบ สำหรับ 3 นักออกแบบระดับมือรางวัล พวกเขามี “วิธีคิด” และ “ทำ” ที่น่าสนใจ ในการรับมือกับวิกฤต เพื่อเอาตัวรอดและเติบโตในยุค Next Normal
ช่วงเวลาของการเผชิญหน้ากับสถานการณ์โควิด-19 โฮสเทลย่านเมืองเก่าที่ชื่อ “Beehive Phuket Old Town Hostel” ปรับกลยุทธ์ธุรกิจ โดยใช้เวลาแค่ 2 เดือน คิดสูตรบะหมี่ออร์แกนิก สร้างแบรนด์ “บะหมี่จินหู่” ที่สามารถโตได้ถึง 200 เปอร์เซ็นต์
Fun Café Bangkok ต่อยอดไอเดียดัดแปลงห้องพักที่มีอยู่ซึ่งเดิมเปิดเป็นโฮสเทลมาก่อนให้เป็นที่นั่งแบบไพรเวท สร้างความมั่นใจและปลอดภัยในการเข้าใช้บริการแก่ลูกค้า จนทำให้สามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นมาให้กับธุรกิจได้ในยามวิกฤต
ภาคการส่งออกสินค้าได้ฟื้นตัวตามทิศทางเศรษฐกิจและการค้าโลก แต่ภาคการผลิตที่เกี่ยวข้องกับการบริการและการท่องเที่ยวยังคงซบเซาอย่างต่อเนื่อง จึงเรียกได้ว่าการส่งออกจึงยังเป็นความหวังสำหรับเศรษฐกิจไทยตอนนี้
“ธงธเนส ศิริไชยชาญ” ชายหนุ่มจากเมืองกรุงผู้หลงใหลในเสน่ห์เมืองเล็กๆ ริมแม่น้ำโขงแห่งนี้ เขาคือหนึ่งในผู้ที่เคยได้รับทั้งโอกาสและต้องเสียโอกาสจากการย้ายที่ทางในการทำธุรกิจ ซึ่งหากจะว่าไปแล้วเขาอาจเป็นบุคคลที่ย้ายกิจการบ่อยที่สุดในเชียงคานก็ว่าได้