ชัยวิวัฒน์ อ่อนอนันต์ ค้นพบวิธีเปิดร้านอาหารเล็กๆ ให้ประสบความสำเร็จได้จากตัวเองแม้อยู่ในทำเลไม่ดี แต่ก็มีลูกค้าแวะเวียนมาชิมไม่ขาดสายตั้งแต่วันแรกที่เปิดร้านจนกระทั่งเจอกับวิกฤตโควิดทางร้านก็ยังไม่เคยประสบภาวะขาดทุน
ชั่วโมงนี้ถ้าพูดถึงร้านผลไม้ที่ถูกพูดถึงมากที่สุดในโลกออนไลน์ คงเป็นอย่างอื่นไปไม่ได้นอกจากร้าน “สยามฟรุทส์” ร้านผลไม้ในตำนานของวัยรุ่นไทยย่านสยามสแควร์ซอย 3 หลังประกาศปิดร้านจากผลกระทบโควิด-19
QR Code ไม่ใช่แค่เป็นตัวช่วยด้านความปลอดภัย แต่ร้านอาหารหรือแบรนด์ผลิตภัณฑ์ต่างๆ สามารถใช้ QR Code เพื่อสื่อสารกับลูกค้า หรือสร้างประสบการณ์และความพึงพอใจของลูกค้าได้มากขึ้นด้วย แถมมันเป็นเทคโนโลยีที่ไม่ต้องใช้ต้นทุนมากซะด้วยสิ
ธุรกิจอะไรที่เติบโตสวนพิษโควิดได้อย่างไม่กลัวไวรัส? ที่เด่นชัดก็คงจะเป็น Mango Tree : แม็งโกทรี ร้านอาหารไทยในเครือเดียวกันกับร้านสุกี้ “โคคา” ที่เติบโตได้อย่างไม่กลัวโควิดที่วัดได้จากแพลนเปิดร้านอาหารใหม่รวม 17 แห่งปีนี้ทั้งในไทยและเอเชีย
โควิด-19 ทำให้พื้นที่เคยเป็นทำเลทองกลับกลายเป็นทำเลร้าง ทำเลที่เคยมีค่าเช่าที่แพง ปัจจุบันค่าเช่ายังแพงเหมือนเดิมแต่ร้านค้ากลับไม่สามารถขายได้ Penguin Eat Shabu (เพนกวิน อีท ชาบู) ก็เผชิญกับสถานนี้เช่นกัน
คนทำธุรกิจทุกคนรู้ดีว่า ‘ข้อมูล’ ของลูกค้าเป็นเหมือนขุมทรัพย์ที่จะช่วยให้ชี้ทางสว่างให้กับธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงเวลาที่ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ยิ่งต้องทำความเข้าใจผู้บริโภคให้มากขึ้นและเร็วขึ้นเท่าตัว
ไม่ได้ดังแค่จาก ลิซ่า BLACKPINK แต่ "Asava" ยังเป็นแบรนด์แฟชั่นไทยระดับโลกที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ พอๆ กับเรื่องราวชีวิตของ "หมู อาซาว่า" เจ้าของแบรนด์ที่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ ชีวิตไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ
ต่อให้หลายธุรกิจต้องขยับตัวมาทำการตลาดออนไลน์ที่ลูกค้าสามารถซื้อจากร้านค้าได้โดยตรง แต่สำหรับบางธุรกิจแล้ว “ตัวแทนจำหน่าย” คือพลังขับเคลื่อนธุรกิจ เป็นกำลังหลักในการช่วยขยายฐานลูกค้ามากขึ้นเรื่อยๆ
ถ้าพูดถึงแบรนด์น้ำพริกของไทย ชั่วโมงนี้คงไม่มีใครไม่รู้จัก “น้ำพริกนิตยา” อย่างแน่นอน ไม่น่าเชื่อว่าจากกระแสข่าวดราม่าที่เกิดขึ้นในช่วงไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์นี้ จะส่งผลต่อยอดขายเพิ่มสูงขึ้นแบบถล่มทลาย ยอดคนติดตามเพิ่มขึ้นกว่าหลายหมื่นคน
หลังจากนี้ “ไทยพาณิชย์” ที่เรารู้จักจะไม่ใช่แค่ธนาคารอีกต่อไป แต่จะกลายเป็นกลุ่มบริษัทที่มีธุรกิจการเงินและแพลตฟอร์มทางเทคโนโลยีที่หลากหลาย สามารถตอบสนองความต้องการใหม่ๆ ของผู้บริโภคในวันนี้และอนาคตได้
“คนเผาถ่าน” คำพูดที่ติดอยู่ในใจ บอย-ปราโมทย์ เตือประโคน มากว่า 20 ปี กลายเป็นคำที่ทำให้เขายอมตัดสินใจลาออกจากงานประจำทันทีตอนที่ขายถ่านได้ 10 ตัน ก้าวสู่เจ้าของโรงงานถ่านอัดแท่งที่ทำรายได้ปีละ 8 หลักในเวลาสองปี
หนึ่งวิธีที่ทำให้เหลือ “ขยะ” น้อยลงได้ คือการนำของเหลือเหล่านั้นมาผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า ที่อาจเรียกได้ว่าอาจจะเป็นวิธีที่สร้างมูลค่าเพิ่มได้มากที่สุด