สำหรับขาช้อปออนไลน์ทั้งหลายช่วงนี้คงจะคุ้นหูกับชื่อของ TEMU แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซจากจีน มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง ได้เข้ามาให้บริการในประเทศไทยเป็นที่เรียบร้อยแล้วช่วงปลายเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา
“ข้าวธรรมชาติ จ.เชียงราย” ข้าวปลอดสารพิษ คุณภาพคัดพิเศษ และ “BWILD Isan” กระเป๋ารูปทรงไก่ชนจากแดนอีสาน คือ 2 แบรนด์ตัวอย่าง 2 ที่มีการทำธุรกิจอยู่บนพื้นฐานการรู้จักและเข้าใจตนเอง จนทำให้ธุรกิจเกิดการเติบโตได้อย่างยั่งยืน
เพราะเชื่อว่าโลกใบนี้ไม่มีขยะ มีแค่เพียงทรัพยากรที่วางไว้ผิดที่ผิดทางเท่านั้น เหมือนกับที่ "เอส-ธนินท์รัฐ ธนเศรษฐ์โตกุล" ได้ค้นพบธุรกิจที่ใช่ หลังจากลองผิดลองถูกมาหลายธุรกิจ ซึ่งก็คือ "ธุรกิจรับซื้อของเก่า" ซึ่งเขามองว่าเป็นธุรกิจที่มีความเป็นอมตะ
ไม่แปลกที่พนักงานจะขยันหรือทุ่มเทไม่เท่ากับเจ้าของกิจการ แต่อาจไม่ดีแน่ถ้าพนักงานไม่ใส่ใจหรือทำงานแบบขอไปที ลองมาดูไอเดียให้ลูกน้องเป็นเจ้าของ ซึ่งช่วยพลิกธุรกิจทำให้งานเดินขึ้นอย่างเห็นได้ชัดจากผู้บริหาร บ.เพาเวอร์โอฬาร เจ้าของกิจการร้าน 20 บาทที่มีสาขาอยู่ทั่วประเทศกัน
จากบริษัทเล็กที่ทำรายได้ร้อยล้านในเวลาไม่ถึงสิบปี วันนี้เราจะพามาเจาะลึกลงไปอีกว่า การขยับองค์กรไปสู่เป้ารายได้ระดับพันล้านในอีก 3-5 ปีข้างหน้าของ Sellsuki จะต้องทำอย่างไร ภายใต้แนวคิดการบริหารของ CEO ภัทร เถื่อนศิริ
แนวทางการทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จของแต่ละคน แต่ละองค์กรอาจมีที่มาต่างกันไป บ้างก็ใช้แพสชั่น บ้างก็ต่อยอดธุรกิจจากที่บ้าน แต่น้อยคนนักที่จะใช้คำว่า WHY เป็นแรงขับเคลื่อนธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ เปลี่ยนบริษัทเล็กๆ ให้ก้าวสู่คำว่า “มหาชน” ภายในเวลา 7 ปี
คงไม่ใช่เรื่องง่ายนักที่แบรนด์น้องใหม่จะฝ่าด่านแบรนด์รุ่นพี่กลายเป็นม้ามืดมาแรงทำยอดขายแซงทุกแบรนด์จนขึ้นแท่น Best Seller ในเซเว่นเพียงแค่ภายในหนึ่งเดือนเท่านั้น
จากทีมแชมป์ประกวดแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยและเขียนแผนธุรกิจเมื่อ 15 ปีที่แล้ว กลายเป็นจุดเริ่มต้นของบริษัท Sellsuki (เซลสุกิ) ที่วันนี้มีรายได้หลักร้อยล้านบาท ปัจจัยอะไรที่ทำให้องค์กรของเขาเติบโตมาได้ท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจและการแข่งขันที่หนักหน่วง