“อารีฟู้ดส์” SME ที่ทำอาหารแช่แข็งส่งให้กับครัวร้อนในซูเปอร์มาร์เก็ตหลายแห่ง มีรายได้ต่อปีที่ประมาณ 150 ล้านบาท เมื่อต้องเจอกับโควิด-19 จึงปรับสายพานการผลิตมาสู่สินค้าประเภท Ready to Eat ที่รองรับกับพฤติกรรมของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้บริโภค
มีสัญญาณให้เห็นชัดเจนว่าในช่วงโควิดที่ผ่านมา กลุ่มสินค้าที่เป็นอาหารเกี่ยวกับสุขภาพได้รับความสนใจมากขึ้น นอกจากนี้กลุ่มสินค้าที่มาแรง และเป็นอนาคตของผู้ส่งออกอาหารไทย ก็คือแพลนต์เบส (Plant-based Food) อาหารจากพืช ซึ่งกำลังเติบโตอย่างมากในตลาดโลก
อยากทำสินค้านวัตกรรม แต่ไม่รู้จะเริ่มต้นจากไหนดี ลองดูแนวทางของ แบรนด์ “จั๊บ จั๊บ” (JUB JUB) ก๋วยจั๊บอุบลกึ่งสำเร็จรูป ที่ใช้วิธีขอซื้อสิทธิบัตรงานวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัย แล้วมาต่อยอดเป็นผลิตใหม่ พัฒนาแบรนด์จนประสบความสำเร็จ
หลังโควิดเศรษฐกิจและการค้าโลกจะเปลี่ยนไป ทั้งการใช้ระบบอัตโนมัติต่างๆ มาทดแทนแรงงานคน การย้ายฐานการผลิตกลับประเทศต้นทาง ตลอดจนการใช้นโยบายการเงินแบบรูปแบบใหม่ของธนาคารกลาง ฉะนั้นต้องปรับตัวให้ทันใน 3 เรื่องหลักต่อไปนี้
Life at home report เป็นงานวิจัยที่อิเกียทำขึ้นปีละครั้ง สำรวจเมืองใหญ่ 37 แห่งทั่วโลก เพื่อเข้าใจความต้องการของลูกค้าอย่างลึกซึ้งรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เหตุการณ์ในปี 2020 เหมือนเป็นใจให้อิเกียมาก เพราะโควิดทำให้คนอยู่บ้านมากขึ้น
สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบต่อตลาด “พื้นที่สำนักงานให้เช่า” (Occupied Area) ในปี 2021 ที่คาดว่าจะชะลอตัวลง บวกกับเทรนด์การทำงานแบบ Work From Home บางบริษัทก็มีแนวโน้มจะใช้ต่อเนื่องในระยะยาวแม้จะคลายล็อกดาวน์
สวนเกษตรเล็กๆ แถวรังสิต คลอง 10 จ.ปทุมธานี ได้บุกเบิกนำ “แก้วมังกร” มาทดลองปลูกในประเทศไทย และวันนี้ยังให้กำเนิดแบรนด์ “Fruitaya” (ฟรุตทายา) ผลิตภัณฑ์แยม น้ำแก้วมังกร และแก้วมังกรอบแห้ง นวัตกรรมความอร่อยจากผลผลิตทางการเกษตรที่เข้ามาตอบตลาดคนรักสุขภาพโดยเฉพาะ
ใครจะคิดว่าขยะเหลือทิ้งและของเสียในกระบวนการผลิตมะม่วงเบาแช่อิ่ม อย่างเปลือกมะม่วงและน้ำเชื่อม จะกลายร่างสู่เครื่องดื่มไซเดอร์มะม่วงเบาไร้แอลกอฮอล์ขึ้นมาได้
การจะปรับรูปแบบธุรกิจให้เข้าสู่ Food Delivery ได้นั้นแท้จริงแล้วมีความยากง่ายยังไง การเลือกซื้อกล่องจัดส่งอาหารมาใช้สักใบหนึ่ง ควรเลือกซื้อยังไง เรามีคำแนะนำดีๆ จาก “Mister Box Delivery” ผู้ผลิตและจำหน่ายกล่องส่งอาหารสัญชาติไทยมาฝาก
ท่ามกลางการแพร่ระบาดของไวรัสโควิดระลอกที่สอง เป็นการเร่งให้ผู้ประกอบการ SME ต้องหันมาสนใจในเรื่องของต้นทุนการดำเนินงานมากขึ้น ลองมาสำรวจกันว่า ต้นทุนใดบ้างที่สามารถปรับลดได้โดยการนำเทคโนโลยียุคใหม่มาปรับใช้
วันแรกที่มะเขือเทศ Take Me Home วางขายในตลาดขายส่งผัก-ผลไม้เมืองเชียงใหม่ ทำยอดขายไปได้ทั้งสิ้น “0 บาท!” ผ่านมา 15 ปี มะเขือเทศที่คนเมินใส่ในวันแรก เติบใหญ่กลายเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายมะเขือเทศสดในระบบไฮโดรโปนิกส์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
อยากเลี่ยงแป้งทำไมต้องอด อยากผอม อยากสุขภาพดี ทำไมต้องกินแต่ของไม่อร่อย! ด้วยเหตุนี้ ทานดี อินโนฟูด จึงได้ปลุกปั้นนวัตกรรมใหม่มาสนองตลาดสายสุขภาพ ที่พลเมือง 1 ใน 3 ของโลกคือคนอ้วน และไทยก็มีคนอ้วนเป็นอันดับ 2 ในอาเซียนเป็นที่เรียบร้อย